Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (cesarean section), หน่วยที่ 8 วิธีการช่วยเหลือแล…
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (cesarean section)
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้สมบูรณ์ (absolute indication)
การคลอดติดขัด (mechanical obstruction or mechanical dystocia) หรือการคลอดยาก
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
กระดูกเชิงกรานหัก หรือมีความผิดปกติของช่องคลอด
มะเร็งปากมดลูกที่พบภายหลังตั้งครรภ์ได้ 12 สัปดาห์ไปแล้ว
ตั้งครรภ์ภายหลังผ่าตัดตกแต่งช่องคลอด
ข้อบ่งชี้สัมพัทธ์
(relative indication)
มารดาที่เคยมีการผ่าตัดที่ผนังมดลูก
ตกเลือดก่อนคลอดที่อาจมีอันตรายต่อมารดาหรือทารก
โรคแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ที่สำคัญ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะอันตราย
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่ได้อยู่ในท่าศีรษะเป็นส่วนนำทั้งคู่
ผู้คลอดมีประวัติคลอดยาก ทารกตาย หรือพิการจากการคลอด
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ขณะทำการผ่าตัด
มารดา
เกิดการตกเลือดจากตัดถูกเส้นเลือดที่มดลูกเส้นใหญ่ๆ
ภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึก
เกิดการฉีกขาดต่อแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
ทารก
เกิดภาวะ asphyxia
เกิดการบาดเจ็บต่อทารกจากการผ่าตัด หรือจากการทำคลอด
ภายหลังผ่าตัด
มารดา
เกิดการตกเลือดภายในช่องท้อง
เกิดภาวะท้องอืด (paralytic ileus)
เกิดการติดเชื้อภายในช่องท้อง (peritonitis
เกิดการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
ยาระงับความรู้สึก
การใช้ยาสลบ (general anesthesia)
การใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนของร่างกาย (regional anesthesia)
spinal
epidural anesthesia
การพยาบาลเพื่อเตรียมผ่าตัด
NPO อย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สวนอุจจาระเช้าวันที่จะทำการผ่าตัด
เตรียมหน้าท้อง และใส่สายสวนปัสสาวะในวันที่จะทำการผ่าตัด
เจาะเลือดและจองเลือดชนิด whole blood 2 unit
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่1 ผู้คลอดวิตกกังวลเนื่องจากการขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 ขาดความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผ่าตัดและการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องภายหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 ผู้คลอดมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัดและหรือมีไข้หลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5 มีโอกาสสร้างสัมพันธภาพกับบุตรไม่เหมาะสมหรือล่าช้า
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 6 ขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดและเมื่อกลับบ้าน
ชนิดของการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การผ่าที่ผนังหน้าท้องหรือผิวหนัง (skin incison)
การผ่าในแนวดิ่ง (low vertical skin incision หรือ median incision)
การผ่าในแนวขวาง (tranverse skin incision หรือ Pfannenstiel's incision)
การผ่าที่ผนังมดลูก (Uterine incision)
Classical cesarean section
Low cervical cesarean section
หน่วยที่ 8 วิธีการช่วยเหลือและการพยาบาบลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
นางสาววิภาดา ชื่นใจ เลขที่ 37