Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหมายของการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์, กลุ่มที่ 2 - Coggle Diagram
ความหมายของการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์
ความสำคัญของการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์
การคัดเลือกบุคลากรมีความสำคัญต่อการดำเนินงานขององค์กรเป็นอย่างยิ่งซึ่งเป็นกระบวนการต่อเนื่องมาจากการสรรหาบุคลากรเพราะว่ามีความจำเป็นจะต้องมีบุคลากรมาประจำในตำแหน่งงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อทำการปฏิบัติงานตามสายงานการบริหารงานขององค์กรดังนั้นการคัดเลือกบุคลากรขององค์กรด้วยเหตุผลที่สำคัญ 6 ประการ
1.นโยบายการคัดเลือกบุคลากรขององค์กร
2.ประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร
3.ใช้การพิจารณากลั่นกรองคัดเลือกบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ
4.การคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพ
5.การคัดเลือกบุคลากรต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย
6.คณะกรรมการคัดเลือกบุคลากร
กระบวนการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์
กระบวนการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อองค์กร ถ้าหากการคัดเลือกเกิดความผิดพลาดอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรจนถึงขั้นทำให้องค์กรเสียหายได้ การคัดเลือกยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับน โยบายและงบประมาณขององค์กรด้วยดังนั้นกระบวนการดัดเลือกทรัพยากรมนุษย์จะต้องประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
การต้อนรับผู้สมัคร
การกรอกแบบฟอร์มใบสมัคร
การสัมภาษณ์เบื้องต้น
การนัดหมายผู้สมัคร
การทคสอบ
การตรวจสอบประวัติ
การสัมภาษณ์ครั้งสุดท้าย
การประกาศผลการคัดเลือก
การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์โดยการทดสอบ
การทดสอบ เป็นกระบวนการมาตรฐานที่ใช้ในการกลั่นกรองผู้สมัครงานให้ได้บุคลากรที่มีประสิทธิภาพในการทำงาน เพื่อการจ้างงาน และการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น
นโยบายการทดสอบขององค์กร จะกำหนคนโยบายการทดสอบให้เหมาะสมกับการดำเนินงานขององค์กร โดยการพิจารณาตามความเหมาะสม และมีลักษณะความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติงาน เพื่อนำไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาร่วมกับผลการสอบสัมภาษณ์อีกครั้งเพื่อให้การคัดเลือกบุคลากรถูกต้องสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์ขององค์กร
ประโยชน์ของการทคสอบ
3.1ผู้รับสมัครงานได้ใช้ผลการทดสอบเป็นเกณฑ์ประกอบการพิจารณาคัดเลือก
3.2ช่วยทำให้สามารถคัดเลือกบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในการทำงาน
3.3ช่วยเป็นเครื่องมือในการพยากรณ์ประสิทธิภาพของบุคลากรในระบบ
ลำดับขั้นในการสัมภายณ์ มี 6 ประเภท
การเตรียมการสัมภาษณ์
การสร้างความสัมพันธ์
การถามคำถาม
การยุติการสัมภาษณ์
การทบทวนการสัมภาษณ์
การประเมินผลการสัมภาษณ์
การทดสอบวัดผลทางด้านความรู้ ความสามารถ และทักษะ
1 การทดสอบปรนัย (Objective tests) เป็นการทคสอบจะประกอบด้วยข้อสอบที่เป็นคำถามแต่ละ ข้อ และมีการกำหนดคำตอบให้จำนวน 4 - 5 คำตอบ และให้ผู้เข้าทดสอบได้เลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดีย
2 การทดสอบอัตนัย (Subjective tests) เป็นการทดสอบจะประกอบด้วยข้อสอบที่เป็นคำถามแต่ละ ข้อ และให้ผู้เข้าทดสอบเขียนคำตอบเป็นข้อความเรียงเป็นประโยคหลายประโยคซึ่งจะขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานอาชีพของผู้เข้าทดสอบ
ประเภทของการสัมภายณ์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การสัมภาษณ์ที่มีการกำหนดแนวทางขึ้นล่วงหน้า เป็นหลักการที่ผู้ทำการสอบสัมภาษณ์จะต้องทำการจัดเตรียมหัวข้อและเรื่องราวที่จะสอบถามขึ้นล่วงหน้า โดยจะถามเกี่ยวกับเรื่องใด จะตั้งคำถามอย่างไร จะใช้เวลามากน้อยเพียงใด
2.การสัมภาษณ์ที่ไม่ได้มีการกำหนดแนวทางขึ้นล่วงหน้า เป็นหลักการที่ผู้ทำการสอบสัมภาษณ์จะพูดเรื่องอะไรก็ได้ ซึ่งจะทำให้ผู้ทำการสัมภาษณ์เรียนรู้คุณลักษณะ ในตัวผู้สมัครจากการสังเกต
กลุ่มที่ 2