Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การควบคุมป้องกันแมลงและสัตว์นำโรค - Coggle Diagram
บทที่ 5 การควบคุมป้องกันแมลงและสัตว์นำโรค
นิยามความหมาย
พาหะนำโรค
สิ่งที่เป็นตัวนาพาเอาเชื้อโรคจาก
สิ่งมีชีวิตหนึ่งสู่อีกสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ซึ่งทาให้เกิดโรคขึ้น
แมลง
สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
ร่างกายแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน
ส่วนหัว
ส่วนอก
ส่วนท้อง
มี 6 ขา
แมลงวัน
ชีววิทยาของแมลงวัน
ไต่ตอมสิ่งปฏิกูล
อหิวาต์
ไทฟอยด์
พาราไทฟอยด์
.ไม่ค่อยชอบแสงแดด
เพาะพันธุ์ตามพื้นที่ที่อุดมไปด้วยอินทรีย์
ตัวเมียจะวางไข่ครั้งละ 75 – 150 ใบ
ใช้การมอง และฟีโรโมน ช่วยกระตุ้นในการผสมพันธุ์ ตัวเมียจะผสมพันธุ์
ครั้งเดียว
การควบคุมและป้องกันแมลงวัน
การควบคุมแมลงวันภายในอาคารและที่พักอาศัย
มีตระแกรงหรือมุ้งลวด
ยาฆ่าแมลงวันตัวอ่อน และตัวแก่
ถังขยะมีฝาปิด
การป้องกันและควบคุมแมลงวันในชุมชน
ระบายน้ำ ควรมีตระแกรงครอบ
ไม่มีเศษอาหารที่เป็นตัวนาให้มี
แมลงวัน
แมลงสาบ
วงจรชีวิตของแมลงสาบ
ไข่
ตัวอ่อน
ตัวเต็มวัย
พบได้ทั่วโลก มักอาศัยอยู่ในเขตอบอุ่น
การควบคุมและป้องกันแมลงสาบ
การป้ องกันไม่ให้แมลงสาบเข้าสู่ตัวอาคาร
มุ้งลวดหรือตระแกรง
การควบคุมแมลงสาบภายในอาคารหรือที่พักอาศัย
กาวดัก
ยาฆ่าแมลง
เก็บสิ่งของหรืออาหารให้มิดชิด
หนู
เป็นสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม
วงจรชีวิต 3-4 เดือน
แพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว
หนูเป็นสัตว์ที่นำโรคมาสู่มนุษย์
กาฬโรค
มูรีนไทฟัส
ไข้หนูกัด
การควบคุมและป้องกันหนู
ควบคุมป้องกันหนูในบ้านพัก
ติดตั้งมุ้งลวด
เก็บ
อาหารให้มิดชิด
การควบคุมป้องกันหนูในชุมชน
การออกกฎหมาย
สร้างเครื่องป้องกันหนู
แอนติโคแอกกลูแลนท์