Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
100-400การคิดเชิงคำนวณ - Coggle Diagram
100-400การคิดเชิงคำนวณ
บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
การสื่อสารด้วยข้อมูล
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่ายช่องทาง สื่อสาร เช่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
องค์ประกอบของการสื่อสาร โดยทั่วไปมี 4 ประการ
ผู้ส่ง Sender
สาร Message
ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ Channel
ผู้รับสาร Received
วัตถุประสงค์
เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล
เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ
เพื่อลดเวลาการทำงาน
ประโยชน์
รวดเร็ว
ความถูกต้องของข้อมูล
ความเร็วของการทำงาน
ต้นทุประหยัด
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
จุดปของการเรียนรู้
อธิบายหลักการและจุดประสงค์ของการทำข้อมูลให้เห็นภาพ
เลือกใช้วิธีการทำข้อมูลให้เป็นภาพได้อย่างเหมาะสม
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
เป็นการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ผลลัพธ์จากข้อมูลผ่านการวิเคราะห์และประมวลผลออกมาเป็นภาพนำเสนอ 4 รูปแบบ
แบบตู้กดน้ำ
แบบร้านกาแฟ
แบบห้องสมุด
แบบห้องทดลอง
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
สิ่งที่ต้องคำนึงในการนำเสนอข้อมูล
ข้อมที่นำมาใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น กระชับ
สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ
รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
รูปที่นำมาใส่ในงานนำเสนอจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป
ภาพเคลื่อนไหวควรไส่ให้เหมาะสม ไม่มากไม่น้อยเกินไป
การใช้พื้นหลัง ควรหลีกเลี่ยงการใช้รูปภาพเป็นพื้นหลังเพราะจะทำให้ตัวหนังสืออ่านยากหรือถ้าต้องใช้พื้นหลังเป็นรูปภาพก็ควรหาพื้นหลังสีพื้นให้กับตัวอักษรด้วย
สิ่งที่ไม่ควรทำในการนำเสนองาน
อาขยาน อ่านกระจุย
อย่าไว้ใจทางอย่าวางใจคอมฯและอุปกรณ์ทั้งหลาย
อย่านอกเรื่องไปไกล
ใช้อักษรบนหน้าสไลด์ให้น้อยที่สุด
บทที่5 การแบ่งปันข้อมูล Data Sharing
องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
สาร
ช่องทาง
ผู้รับ
ผู้ส่ง
เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
บล็อก (blog) มาจากคําว่า เว็บ-ล็อก ซึ่งเป็นการสื่อสารเขียนบทความ อธิบายหรือให้ข้อมูลเพื่อนำไปเผยแพร่เว็บไซต์ปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่ให้บริการ
ขั้นตอนการเขียน Blog
การวางแผน
ค้นคว้า
ตรวจสอบข้อมูล
การเขียนคำโปรย
การเขียน
การใช้ภาพประกอบ
ตรวจทางแก้ไข
ข้อควรระวังในการแบ่งข้อมูล
ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
ข้อมบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
ข้อมบางชิดอาจถูกนำมาใช้หลอกลวง
การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฎหมาย
บทที่6 จริยธรรมและจรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์และ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560
จริยคอมพิวเตอร์ Ethics
จรรยาบรรณนักคอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560
จริยธรรม ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2560) ยังระบุไว้ว่า จริยธรรม หมายถึง” หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ โดยสรุปแล้ว จริยธรรม จะมีความหมายไปในแนวเดียวกัน คือ เป็นหลักเกณฑ์ที่ประชาชนตกลงร่วมกันเพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติในสังคม
จริยธรรมคอมพิวเตอร์ จริยธรรม หรือ Ethics นั้นอาจเข้าใจกันในหลายความหมาย เช่น หมายถึง หลักศีลธรรมที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศICT ETHICS มี 4 ประเด็น
ความเป็นส่วนตัว(Privacy)
ความถูกต้อง. (Accuracy )
ความเป็นเจ้าของ(Property )
การเข้าถึงข้อมูล(Data accessibility )
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ คืออะไร
พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยเรื่องการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่ว่านี้ก็เป็นได้ทั้งคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก สมาร์ทโฟน รวมถึงระบบต่างๆ
8 เรื่องที่ทำผิดกฎหมาย พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
เข้าถึระบบ หรือข้อมูลของผู้อื่น โดยไม่ชอบ(มาตรา 5-9)
แก้ไข ดัดแปลง หรือทำให้ข้อมูลผู้อื่นเสียหาย(มาตรา9-10)
ส่งข้อมูลหรืออีเมล์ก่อกวนผู้อื่นหรือส่งอีเมล์สแปม(มาตรา11)
เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลทางด้านความมั่นคงโดยมิชอบ(มาตรา 12)
จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนกไปใช้กระทำความผิด(มาตราที่ 13)
นำข้อมูลที่ผิด พ.ร.บ.เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ (มาตราที่ 14)
ให้ความร่วมมือ ยินยอมรู้เห็นเป็นใจกับผู้ร่วมกระทำความผิด (มาตราที่15)
ตัดต้อ เติม หรือดัดแปรงภาพ (มาตราที่ 16)
บทที่ 7 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมันใหม่เป็นสิ่งที่นำมาปรับเปลี่ยน ทัศนคติและวิถีการใช้ชีวิตของมนุษย์ให้แตกต่างจากเดิมมากเทคโนโลยีที่เกิดใหม่ขึ้นเรื่อยๆ
ปัญญาประดิษฐ์
แนวคิดสำคัน 5 ประการสำหรับ ปัญญาประดิษฐ์. (Five big ldeas in Al)
การรับรู้ (Perception )
การแทนความรู้และการให้เหตุผล(Representation and Reasoning )
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ(Natural Interraction)
การเรียนรู้(Learning )
ผลกระทบทางสังคม(Social Impact)
การประมวลผลแบบคลาวน์
ค่าใช้จ่ายการประมวลผลแบบคลาวด์
สำหรับบุคคลทั่วไป
สำหรับภาคธุรกิจ
รูปแบบการให้บริการการประมวลผลแบบคราวด์
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย การประมวลผลแบบคราวด์
ข้อดีของการประมวลผลแบบคราวด์ •เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา
ข้อเสียของการประมวลผลแบบคราวด์ •ต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในการรับ-ส่งข้อมูล
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
ความสำคัญของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เชื่อมต่อและมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างัน
สถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์
เกตเวย์และเครือข่าย
ส่วนสนับสนุนการบริการ
แอปพลิเคชั่น
เมืองอัจฉริยะ(Smat city )เป็นการนำเทคโนโลยี loT มาประยุกต์ใช้ภายในเมืองเพื่อทำให้คุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองดีขึ้น
lnfrastructue-as-a-Service (laaS)คือ การให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วย ระบบประมวลผล ระบบการจัดเก็บข้อมูล
Platform-as-a-Service (PaaS)คือการให้บริการด้านแพลตฟอร์ม
Software-as-a-Service (SaaS)คือการให้บริการด้านซอฟต์แวร์บนคราวด์ ผู้ใช้บริารใช้งานได้ผ้านเบราว์เซอร์ ลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ติดตั้ง บำรุงรักษา
เทคโนโลยีเสมือนจิง
เทคโนโลยีที่จำลองสภาพแวดล้อมผ่านระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อให้เกิดการรับรู้เสมือนกับอยู่ในสภาพแวดล้อมจิง
เทคโนโลยีเสมือนจิง
หลักการทำงานของความเป็นจริงเสริมความเป็นจริงเสริม เป็นการรวมสภาพแวดล้อมจิงกับวัตถุเสมือนเข้าด้วยกัน
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านการศึกษา
ด้านการท่องเที่ยว/การเดินทาง
ด้านความบันเทิง/เกม
ด้านการสร้างงานศิลปะ
ด้านการแพทย์
ด้านการโฆษณาและการส่งเาริมการขาย
เทคโนโลยีอื่นๆที่ควรรู้
ควอนตัมคอมพิวติง (Quantum Computing)ในอนาคต หากมีการพัฒนาควอนตัมคอมพิมติงจนผู้ใช้ทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ การทำงานของระบบต่างๆจะต้องเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง เช่น
การสร้างปัญญาประดิษฐ์
การรักษาความปลอดภัย
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนสุขภาพ