Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Lithiasis (urinary obstruction) - Coggle Diagram
Lithiasis (urinary obstruction)
สาเหตุ
มีปริมาณมากเกินกว่าของเหลวในปัสสาวะจะละลายหรือทำให้เข้มข้นน้อยลงได้
มีปัจจัยจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารบางชนิด เช่น เกลือ น้ำตาล
นิ่วในไตอาจเกิดขึ้นได้จากปริมาณของเกลือ แร่ธาตุ และสสารต่าง ๆ
การรักษา
การรักษานิ่วในไตขนาดใหญ่
การผ่าตัดก้อนนิ่วออก (Percutaneous Nephrolithotomy)
ผ่าตัดนิ่วด้วยการใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็กและเครื่องมือสอดเข้าไปบริเวณหลังของผู้ป่วย
เหมาะกับนิ่วที่มีขนาดไม่เกิน 3 เซนติเมตร อาจใช้ตามหลังวิธีใช้คลื่นเสียงแตกตัวก้อนนิ่ว (ESWL) ไม่ได้ผล
การใช้คลื่นเสียงแตกตัวก้อนนิ่ว
เหมาะกับนิ่วที่มีขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร รักษาด้วยเครื่อง Extracorporeal Shock Wave Lithotripsy (ESWL)
ใช้แรงสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงทำให้นิ่วแตกตัวเป็นชิ้นเล็ก ๆ จนสามารถผ่านออกทางการขับปัสสาวะได้
การส่องกล้อง
แพทย์อาจใช้กล้อง Ureteroscope เพื่อฉายลำแสงแคบผ่านหลอดปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ใช้เครื่องมือชนิดพิเศษจับหรือทำให้ก้อนนิ่วแตกตัวเป็นชิ้นเล็กจนสามารถถูกขับออกมาทางเดินปัสสาวะได้
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดบีบเป็นระยะ และปวดรุนแรงเป็นช่วง ๆ
ปัสสาวะเป็นเลือด หรืออาจมีสีแดง
ปวดบริเวณหลังหรือช่องท้องด้านล่างข้างใดข้างหนึ่ง
ปัสสาวะแล้วเจ็บ
พยาธิสภาพ
ก้อนนิ่วทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะตรงส่วนใดส่วนหนึ่ง อวัยวะส่วนที่อยู่เหนือขึ้นไปจะมีการขยายตัว
มีการขังของนํ้าปัสสาวะทำให้เกิดการอักเสบ และมีการติดเชื้อร่วมด้วยเสมอ การอุดกั้นอาจอุดในกรวยไตน้อย และเกิดภาวะกรวยไตน้อยบวมน้ำ
ก้อนนิ่วเล็กๆ ที่เกิดขึ้นในไตอาจหลุดผ่านท่อไตและท่อปัสสาวะออกมาได้ โดยไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ไตแต่อย่างใด
การพยาบาล
ให้ยาแก้ปวดเมื่อมีอาการปวดอาจเป็นยาประเภทมอร์ฟีน อะโตรปีน หรือยาคลายการหดเกร็ง (Antispasmodic) เช่น บาราลแกน
จำกัดอาหารที่มีกรดยูริคหรือแคลเซียมสูง
ให้ดื่มน้ำมากๆ อย่างน้อยวันละ 3000 มิลลิลิตร