Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ws2 ecosystem - Coggle Diagram
ws2 ecosystem
1. ปัจจัยอุณหภูมิ สภาพอากาศ ภูมิอากาศ
อุณหภูมิ
range การอาศัยได้ของสมช คือ -50 จนถึง 100 องศาเซลเซียส แต่น้อยที่จะอยู่แบบ extreme ได้
E.g. therniohilic bacteria อาศัยในน้ำร้อนได้
หน่อของพืช arctic สามารถเอาตัวรอดจากอากาศหนาวของหน้าหนาวได้โดยอยู่ใต้หิมะ
altitude (ความสูง) ส่งผลต่ออุณหภูมิ โดย เฉลี่ยความสูงที่ เพิ่มขึ้น 100 เมตรจะทำให้ อุณหภูมิต่ำลง 0.6 องศาเซลเซียส (range อยู่ที่ 0.4-1.0) ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ
ความชื้น
welwitschia แห้งแล้งมาก ฝนแทบไม่ตก 100 mm ต่อปีเท่านั้น
จำกัดกิจกรรมของพืช เช่นผลัดใบในช่วงแล้ง
ป่าเต็งรัง ผลัดใบในช่วงแล้ง
ความชื้นจากเมฆ หมอก และน้ำค้่างช่วยรักษาชีวิตใน ป่าดิบเขา
ฝนตก ลูกเห็บ
แสงอาทิตย์
ส่งผลต่อ สังคมพืช และโครงสร้าง เช่น ป่าดิบกับป่าผลัดใบ
ปริมาณและคุณภาพของแสงที่ส่องถึงพืช สำคัญมากต่อกลไกของสังคมพืช แสงเป็นปัจจัยจำกัด ของพื้นล่างป่า สำหรับป่าฝนเขตร้อน
ทิศทางลมและ ความเร็วลม
กระแสน้ำ การไหลเวียน
สภาพอากาศ เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง มหาสมุทธ และชั้นบรรยากาศ
ความแตกต่างของความร้อนของโลก ก่อให้เกิด รูปแบบที่แตกต่างกันของ การเพิ่มขึ้นและลดลงของ มวลอากาศ ลม และ พายุใน บริเวณ cell ชัดเจน รอบๆโลก
โลกถูกแบ่งออก เป็น พื้นที่สภาพภูมิอากาศ ซึ่งถูกสร้างโดย การไหลเวียนของกระแสน้ำและบรรยากาศ
รูปแบบการไหลเวียน และ พื้นที่สภาพอากาศ สร้าง สภาพทางกายภาพพื้นฐานสำหรับ สิ่งชีวิตที่อยู่ในนั้น
3.topography ภูมิประเทศ
slope ความชัน
aspect มุมของพื้นที่ที่มีผลต่อการตกกระทบของแสงแดด
latitude องศาจากเส้นศูนย์สูตร
Relief สัณฐานของพื้นที่
Elevation ความสูงจากระดับน้ำทะล altitude
rain shadow
zones
subtropical zones
ความดันสูง สร้าง พื้นที่แห้งแล้ง ระหว่าง tropical zone และ tempered zone คือ ระหว่าง 23.5 -40 องศา
temperate zones
มุมที่รังสีแสงอาทิตย์ตกลงมาน้อย
อุณหภูมิโดยเฉลี่ย เย็นกว่า subtropics มาก
อยู่ระหว่าง เขต ร้อนและ เขตขั้วโลก 40-60องศา
ฤดูกาล และความยาว ของวัน แตกต่างกันมาก ตามฤดูกาล
เขตอบอุ่นเหนือ ยาวจาก tropic of cancer จนถึง Arctic circle
เขตอบอุ่นทางใต้ ยาวจาก tropic of capricorn to the antarctic circle
Tropical zones
อุ่นสุด เปียกสุด บริเวณเส้นศูนย์สูตร
อุณหภูมิสูง การระเหยสูง ทำให้อากาศชื้น
รอบๆเส้นศูนย์สูตร + 23.5 ละติจูด เหนือ ใต้
2 ปัจจัยทางธรณี
ลักษณะหิน
ดิน
ความชื้นดิน
อุณหภูมิดิน
ค่า pH
แร่ธาตุในดิน
รูปแบบดิน เนื้อดิน
ชั้นของดิน O A B C R
ความเค็มของดิน
การทำงานของจุลินทรีย์ในดิน
Biotic factors
การเพิ่มขึ้นของสิ่งมีชีวิต สามารถส่งผลต่อสิ่งอื่นในระบบนิเวศเดียวกันได้
การแข่งขัน ทั้งระหว่าง และ ใน สปีชีส์
การล่า ทั้ง กินพืช ปรสิต โรค
การอิงอาศัยกัน
การปรับตัว และปัจจัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิต มีโครงสร้าง ทางกายภาพ และพฤติกรรม ที่ปรับเปลี่ยนไป เพื่อให้ อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้
การปรับเปลี่ยน เป็นการพัฒนาของ ลักษณะพิเศษ จาก สิ่งมีชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับ คุณลักษณะของสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
สิ่งมีชีวิต จำเป็นที่จะต้องใช้ ลักษณะทางกายภาพ อย่าง แร่ธาตุน้ำ อ๊อกซฺเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์เพื่อที่จะ อยู๋รอด และสืบพันธุ์
การปรับเปลี่ยน นั้น เป็นการสืบทอด คุณลักษณะ สิ่งมีชีวิต ทั้งหลาย นั้นได้ วิวัฒนาการ เพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม และ ที่อยู่อาศัยเพื่อเพิ่มความสามารถในการดำรงอยู่
เป้าหมายสูงสุดคือ การเติบโต อยู๋รอด และ สืบพันธุ์
การปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ
ผู้ล่าหลากหลายและมากมาย
มีไฟประจำ
โคตรหนาว
น้ำท่วมประจำ
ร้อนและแห้ง
เค็ม และดินโคลน
รูปแบบการปรับตัว
physiological เปลี่ยนสารเคมี กลไกระบบทำงานภายในร่างกาย
หลั่งของเสียออกมาในรูปแบบ กรดยูริก น้ำน้อย
สกัดน้ำแบบกระบวนการเมทาบอลิสซึมจาก การย่อยของเมล็ดแห้ง
สัตว์ทะเลทราย ได้รับน้ำจาก อาหาร แมลง พืช และ เมล็ด เลยไม่ต้องกินน้ำ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การอพยพที่ยาวที่สุด โดย arctic tern ไป 30000-40000 กิโลเมตร
bar-tailed Godwit บินไม่หยุด 7145 mile 11500 กิโลเมตร
การอพยพ
พฤติกรรมการหาอาหาร
ฝูงสัตว์หลากสปีชีส์
การออกหา
อยู๋กันเป็นฝูง
การทำให้เหยื่อเหนื่อย
การเฝ้าดักเหยื่อ
การใช้เครื่องมือ
การเก็บอาหาร
structural เปลี่ยนโครงสร้างและรูปร่าง
เท้าใหญ่ช่วยเดินในหิมะ
แผ่นปิดจมูกบางๆ เพื่อป้องกันจมูกจากทรายร้อน
หมีขั้วโลกมีขนหนา และซ่อนตัว
หูใหญ่เพื่อระบายความร้อน
การปรับเปลี่ยน จงอยปาก เท้า และกรงเล็บ
การลดรูปใบ การหยั่งรากเกาะพื้นดิน
โครงสร้างเมล็ด โครงสร้างผลต่างๆ
การพรางตัว การมีสีที่เหมือนกันตัวอันตราย ตัวที่มีพิษ การหลอกลวง
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อ การกระจาย ความอุดมสมบูรณ์และ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต