Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8.ไตอักเสบเฉียบพลัน Acute glomerulonephritis, นางสาวอัญฌารัตน์ งามวัฒนสุข…
8.ไตอักเสบเฉียบพลัน
Acute glomerulonephritis
พยาธิ
เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนดิเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลล์ที่มีการอักเสบที่เพิ่มขึ้นและความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ (basement membrane permeability)
อัตราการกรอง (glomerularfiltration surface)และอัตราการกรอง(glomerular filtrationrate:GFR ลดลงปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง
สาเหตุ
ไตอักเสบภายหลังการติดเชื้อ เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด ได้แก่ แบคทีเรียสเตร็ปโตค็อกคัส กลุ่มเอ ที่มักก่อโรคคออักเสบและแผลตามผิวหนัง
โรคทางภูมิคุ้มกัน เช่น โรคเอสแอลอี (SLE) โรคไตอักเสบชนิดไอจีเอ (IgA)
โรคพันธุกรรมบางชนิด เช่น กลุ่มอาการอัลพอร์ต (Alport syndrome)
กลุ่มโรคหลอดเลือดอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะสีแดง ชมพู หรือสีน้ำล้างเนื้อ
ความดันเลือดสูง
อาจมีปัสสาวะออกน้อยลง
บวมตามตัว
การรักษา
การรักษาตามอาการ
1.การพักผ่อน
ขึ้นอยู่กับสภาพและอาการของผู้ป่วยที่มารับการรักษา ได้แก่ การพักผ่อนอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นการทำกิจกรรมทุกอย่างที่เตียง โดยสามารถทำจากมากไปหาน้อยกิจกรรมที่ไม่ใช้กำลังมาก
2.อาหารเเละน้ำดื่ม
การจำกัดน้ำดื่มในรายที่มีปัสสาวะน้อยกว่า250 มล./ตร.ม./วันหรือน้อยกว่า 0.5-1มล./กก./ชม.
การจำกัดเกลือลดปริมาณเกลือโซเดียมและโปตัสเซียม
3.การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยยา นอกจากการให้ผู้ป่วยพักผ่อน งดกิจกรรมที่ต้องใช้กำลัง และจำกัดปริมาตรน้ำและเกลือเพื่อให้ความดันโลหิตลด ลงแล้วบ่อยครั้งจำเป็นต้องใช้ยาลดความดันโลหิตยาขยายหลอดเลือด Hydralazine ขนาด 0.15-0.30 มิลลิกรัม ให้ทางกล้ามเนื้อ หรือทางหลอดเลือดดำออกฤทธิ์ภายใน10-25 นาที
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ยาที่ใช้ได้แก่
penicillin,chephalosporins หรือ broad-spectrum macrolides
ยาขับปัสสาวะ furosemide หรือ lasix ขนาด 1-2 มิลลิกรัม
ทางหลอดเลือดดำ ยาจะออกฤทธิ์ภายใน 5 นาที
การรักษาอื่นๆ
การให้ออกซิเจนในรายที่มีอาการเหนื่อยหอบ
การให้เลือดในรายที่เสียเลือดทางเดินปัสสาวะ หรือมีภาวะซีดจาดไตเสียหน้าที่
การทำ peritoneal dialysis เป็นการรักษาระยะสั้น เพื่อนำ ของเสียออกจากร่างกายและเพิ่มน้ำจากเลือดหลังไตเสียหน้าที่เฉียบพลัน
การพยาบาล
1.ดูเเลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
3.ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง โปรตีนน้อย จำกัดอาหารที่มีโพสแทสเซียมสูง
4.ชั่งน้ำหนักและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกร่างกาย
5.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจและให้ความร่วมมือในการรักษา
2.จำกัดน้ำดื่ม เมื่อมีปัสสาวะน้อยกว่า10-15 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อวัน ให้น้ำเท่ากับปริมาณปัสสาวะที่ออกในแต่ละวันบวกกับน้ที่สูญเสียออกทางผิวหนังและการหายใจ
นางสาวอัญฌารัตน์ งามวัฒนสุข
รหัสนักศึกษา6301110801060