Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ(CA Bladder) - Coggle Diagram
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ(CA Bladder)
อาการของโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มีการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ เช่น ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือปัสสาวะไม่ออก และปวดขณะเบ่งปัสสาวะ
อาการปวดหลัง ปวดกระดูก เท้าบวม มีความอ่อนเพลีย ทานอาหารได้น้อย
ปัสสาวะปนเลือด อาการมักจะเป็น ๆ หาย ๆ แต่จะไม่มีอาการเจ็บปวดร่วมด้วย
การพยาบาล
ให้ความมั่นใจ กระตุ้นเเละให้ข้อมูลในการรักษา
ให้ผู้ป่วยได้พบปะพูดคุยกับคนที่มี ostomy เพื่อเเลกเปลี่ยนความคิดเห็น
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกคับข้องใจ
อธิบายให้ผู่ป่วยเเละญาติเข้าใจสภาวะของโรคเเละเเผนการรักษา
การวินิจฉัย
การส่องกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะ (Cystoscopy) เป็นการตรวจที่สำคัญที่สุดในการวินิจฉัยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
การตรวจเอกซ์เรย์ปอด (Chest film) เพื่อดูว่ามีการกระจายของมะเร็งไปยังปอด
การตรวจปัสสาวะ การตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะมากผิดปกติ
การตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้อง (CT abdomen) เป็นการตรวจเพื่อค้นหาการลุกลามของมะเร็งไปยังอวัยวะข้างเคียง
การตรวจหาเซลล์มะเร็งในน้ำปัสสาวะ (Urine cytology)
การตรวจเอกซ์เรย์กระดูก (Bone scan) เป็นการตรวจเพื่อดูว่า มีการกระจายของมะเร็งไปยังกระดูก
โรคที่เกิดจากการเจริญเติบโตของเซลล์เยื้อบุผนังภายในกระเพาะปัสสาวะที่ผิดปกติ โดยโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะจะมีอยู่หลายชนิด
ชนิด Small cell carcinoma เกิดจากเซลล์ Neuroendocrine cells
ชนิด Small cell carcinoma เกิดจากเซลล์ Neuroendocrine cells
ชนิด Squamous Cell Carcinoma เกิดจากการติดเชื้อ อักเสบแบบเรื้อรังจากการฉายแสง
ชนิด Sarcomas เกิดในเซลล์กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
ชนิด Transitional Cell Carcinomaเกิดในเยื่อบุผนังภายในกระเพาะ
พยาธิสภาพ
เนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะ ร้อยละ 80 เริ่มเป็นที่ด้านล่าง ของกระเพาะปัสสาวะ คอของ กระเพาะปัสสาวะและรูเปิดของหลอดไตมักจะถูกอุดกั้น น้ำปัสสาวะจะคั่งค้างเกิดเป็นแผลถ่าย ปัสสาวะเป็นเลือด และมัก มีการติดเชื้อ ร่วมด้วย เมื่อเนื้อ งอกโตมากขึ้น ความจุของกระเพาะปัสสาวะวะจะน้อยลง ทําให้ถ่ายปัสสาวะบ่อย
สาเหตุ
ผู้ที่ติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะแบบเรื้อรัง เช่น นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ หรือติดเชื้อปรสิตบางอย่าง
ได้รับสารเคมีที่อันตรายบางชนิด
ผู้ที่สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่
การใช้ยาบางชนิดจากการทำเคมีบำบัด
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การรักษา
การรักษาด้วยรังสี
การรักษษด้วยยาบำบัดเคมี
การผ่าตัด
การใส่ยาเคมีบำบัดหรือยากระตุ้นภูมิคุัมกันในปัสสาวะ
การวินิจฉัยโรค
การส่องกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะ โดยสอดผ่านเข้าไปทางท่อ ปัสสาวะเพื่อดูพยาธิภาพภายใน
การซักประวัติและการตรวจร่างกายด้วยการตรวจทางหน้าท้อง
การตรวจทางรังสี
3.2 การใส่สํารทึบรังสีเข้าไปในกระเพาะปัสวะผ่านสายสวนปัสสาวะแล้ว ถ่ายภาพเอกซเรย์ดู จะเห็น filling defect ของกระเพาะปัสสาวะ
3.3 การตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นแม่เหล็กหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
3.4 กํารตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
3.1 การฉีดสารทึบรังสีเข้าไปในหลอดเลือดดํา