Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (CA Bladder) - Coggle Diagram
6.มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (CA Bladder)
อาการ
ปัสสาวะปนเลือด อาการมักจะเป็น ๆ หาย ๆ แต่จะไม่มีอาการเจ็บปวดร่วมด้วย
มีการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ เช่น ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือปัสสาวะไม่ออก และปวดขณะเบ่งปัสสาวะ
เมื่อมะเร็งลุกลามไปยังอวัยวะส่วนอื่น ๆ จะทำให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดกระดูก เท้าบวม มีความอ่อนเพลีย ทานอาหารได้น้อย
การป้องกัน
ดูแลสุขภาพโดยการรับประทานผักและผลไม้
ควรดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสมต่อร่างกายทุกวัน
หมั่นออกกำลังกายอยู่เสมอ
งดสูบบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการได้รับควันจากสารเคมี
หากครอบครัวมีประวัติเกี่ยวกับโรคมะเร็งปัสสาวะ ควรไปตรวจสุขภาพหรือพบแพทย์อย่างน้อยปีละครั้ง
พยาธิสภาพ
เซลล์เยื้อบุภายในกระเพาะ ปัสสาวะมีการแบ่งตัวเพิ่ม ขึ้นมากกว่าปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้อขึ้นมา ก้อนเนื้อนี้ สามารถเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆจนกลายเป็นเนื้อร้าย และแผ่ขยายลุกลามออกไปยังอวัยวะและต่อมน้ำเหลือง
สาเหตุ
ผู้ที่สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่ โดยผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะประมาณ 8 เท่าของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
ได้รับสารเคมีที่อันตรายบางชนิด
การรับประทานอาหารที่มีไนเตรตสูง เช่น เนื้อสัตว์ หรือผักบางชนิด
ผู้ที่ติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะแบบเรื้อรัง เช่น นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ หรือติดเชื้อปรสิตบางอย่าง
การใช้ยาบางชนิดจากการทำเคมีบำบัด
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การรักษา
ระยะที่ 1 การรักษามะเร็งกลุ่มที่ยังไม่มีการลุกลาม รักษาโดยการผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องผ่านท่อปัสสาวะเพื่อไปตัดเนื้องอกภายในกระเพาะปัสสาวะ
ระยะที่ 4 การักษาโดยการประคับประคองอาการผู้ป่วยให้เจ็บปวดน้อยที่สุดจาการรักษา และใช้เคมีบำบัดผ่านทางเส้นเลือด
ระยะที่ 3 การรักษา โดยการผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะ (Radical Cystectomy) ร่วมกับการรักษาโดยการให้ยาเคมีบำบัดหลังจากการผ่าตัด
ระยะที่ 2 การรักษามะเร็งที่กลุ่มที่มีการลุกลาม รักษาโดยผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะ (Radical Cystectomy)
การพยาบาล
1.ตรวจวัดสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอ
2.ถ้าปวดปัสสาวะแต่ปัสสาวะไม่ออกรายงานแพทย์ เพื่อทําการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว
3.ชั่งน้ำหนักและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกร่างกายพร้อมรวมทั้งสังเกตลักษณะของน้ำปัสสาวะมีเลือดปนสีจางๆ เป็นเลือดสดๆ ซึ่งต้องรีบรายงานแพทย์
4.ดูแลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนได้เพียงพอรวมทั้งดูแลค วามสุขสบายของร่ายกายและจัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสง บเอื้อต่อการนอนหลับพักผ่อน
5.ดูแลทางด้านจิตใจโดยเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติชักถ ามข้อสงสัยพร้มมทั้ง ตอบข้อสงสัยต่างๆเกี่ยวกับการดูแลต นเองอาการลักษณะของโรค เพื่อคลายความวิตกกังวล