Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่เกิดจากข้อบกพร่องในเมแทบอลิซึม - Coggle Diagram
โรคที่เกิดจากข้อบกพร่องในเมแทบอลิซึม
ไขมัน
Xanthoma (แซนโทมา)
สาเหตุ
เกี่ยวกับระดับน้ำตาลในเลือดสูง
พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน
หรือโรคพันธุกรรมอื่นๆ
อาการ
ผื่นหรือนูนสีเหลืองขึ้นตามลายฝ่ามือ
ผื่นเอ็นหรือนูนที่ข้อศอกหรือข้อเข่า ไม่เจ็บ
ตุ่มนูนขนาดใหญ่ นุ่มกดไม่เจ็บ พบที่ข้อศอกและเข่า
ตุ่มไขมันเล็กๆ พบบริเวณลำตัว ก้น ต้นขา
รอบขอบตาดำจะมีแถบสีเทาออกขาวอยู่รอบขอบตา
การรักษา
ด้วยกรดความเย็น
เครื่องจี้ไฟฟ้า
เครื่องเลเซอร์
ทำ โดยผู้เชี่ยวชาญ
แต่ในรายที่มีไขมันในเลือดสูง เช่น การรับประทานยา การควบคุมอาหาร
การป้องกัน
เลิกสูบบุหรี่
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ทานอาหารที่มีประโยชน
โรคโกเช่ร์
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติของการเผาผลาญ
การขาดเอนไซม์กลูโคซีรีโบรซิเดส
การสะสมของไขมันในปริมาณที่เป็นอันตราย
อาการ
ชนิดที่ 1
อาการเริ่มประมาณอายุ 3-4 ปี ตับม้ามโต
ซีดลงอย่างช้า ๆ
ผู้ป่วยมักผอมลงและเสียชีวิตเมื่ออายุประมาณ 8-10 ปี
เนื่องจากเลือดออกและซีดรุนแรง
ชนิดที่ 2
อาการเร็วตั้งแต่อายุ 1-2 เดือนแรก มีอาการ
ตัวอ่อน กินแล้วไม่โต ชัก
ชนิดที่ 3
เด็กมักดูปกติในช่วง 6-9 เดือนแรก
มีอาการพัฒนาการหยุดชะงัก ต่อมพัฒนาการเสื่อมถอยลงช้าๆ
การรักษา
ดูแลการหายใจและออกซิเจน ให้เลือด ให้เกล็ดเลือด
ให้ยาเอนไซม์ทดแทน
การปลูกถ่ายสเต็มเซลล์จากไขกระดูก
การป้องกัน
ควรได้รับคำแนะนำเรื่องโอกาสเสี่ยง
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์
วางแผนล่วงหน้าเกี่ยวกับการตรวจป้องกัน
โรคอ้วน
สาเหตุ
ไตรเอซิลกลีเซอไรด์สะสมอยู่ในเนื้อเยื่อไขมันมาก
รับประทานมากเกินไปและมีการใช้พลังงานน้อยเกินไป
จากพันธุกรรมโดยการมีไขมันสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อบางชนิด
การป้องกัน
ประเมินรอบเอวของตนเองว่ามีภาวะค่านักเกินหรือโรคอ้วนหรือไม่
ตั้งเป้าหมายในการดูแลสุขภาพตนเอง
การป้องกันการเกิดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิตของตน
โรค Tay-Sachs
สาเหตุ
เกิดจากการขาดเอนไซม์
มีการสะสมของไขมันบางชนิด
เกิดการทำลายเซลล์ประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
อาการ
การตอบสนองอย่างแรงอย่างผิดปกติต่อเสียงฉับพลันหรือสิ่งเร้าอื่นๆ
อาจมีอาการกระสับกระส่ายหรือตึงของกล้ามเนื้อ
การรักษา
ไม่มีการรักษาโรค Tay-Sachs ให้หายได้ เป็นเพียงการรักษาตามอาการ
ยาป้องกันการชัก
ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันหรือรักษาภาวะปอดบวมในการสำลัก
กายภาพบำบัดทรวงอกเพื่อรักษาความแออัดของระบบทางเดินหายใจ
กายภาพบำบัดเพื่อให้ข้อต่อมีความยืดหยุ่น
Niemann-Pick disease
และ Type C
สาเหตุ
เป็นการกลายพันธุ์เฉพาะในยีน NPC 1 และ NPC 2
ทำลายไขมันในร่างกายกายและกลไกการขนส่ง glycolipid
มี 3 ชนิด คือ Type A , B
สาเหตุ
เกิดขึ้นเนื่องจากการกลาย พันธุ์ในยีน SMPD1
นำไปสู่การขาดเอมไซม์ sphingomyelinase (ASM)
การรักษาและการป้องกัน
ได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในลักษณะถอยกลับอัตโนมัติ ขณะนี้ยังไม่มีการป้องกันที่ได้ผล
โปรตีน
ฟีนิลคีโทยูเรีย
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของการสร้างเอนไซม์
อาการ
เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้า
สติปัญญาอ่อนขั้นรุนแรง
ศีรษะเล็ก ชัก
สีของผิวหนังและเส้นผมจางกว่าปกติ
มีผื่นลักษณะคล้ายโรคแพ้ผื่นคัน
กลิ่นปัสสาวะผิดปกติ
การรักษา
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีโปรตีนสูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารให้ความหวาน
ควรเสริมกรดอะมิโนที่มีสารอาหารจำเป็นต่อร่างกาย
ต้องดื่มนมพิเศษที่สกัดสารฟีนิลอะลานีนออกไปแล้ว
โรคแอลแคปโตนูเรีย
สาเหตุ
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
มียีนที่ผิดปกติสองยีน (หนึ่งยีนจากพ่อแม่แต่ละคน)
เกิดจากการมีกรดโฮโมเจนทิซิค
อาการ
มีจุดดำในตาขาว
กระดูกอ่อนในหูหนาและสีเข้มขึ้น
เหงื่อหรือคราบเหงื่อมีสีเข้ม
ขี้หูมีสีดำ
ข้ออักเสบ (โดยเฉพาะสะโพกและข้อต่อเข่า)
การรักษา
ยังไม่มีวิธีการรักษาที่เฉพาะเจาะจงสำหรับโรคแอลแคปโตนูเรีย
บริโภคอาหารประเภทโปรตีนในปริมาณที่ต่ำลง
การบริโภควิตามินซี
การป้องกัน
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุกรรมสำหรับผู้ที่มีประวัติโรคนี้ในครอบครัว
โรคอัลบินิซึม หรือโรคผิวเผือก
สาเหตุ
เกิดจากยีนด้อยที่มีอยู่ในพันธุกรรม
เกิดจากการผสมกันระหว่างยีนด้อยกับยีนด้อย
อาการ
ผม ผิวหนังหรือดวงตาไม่มีสี
ผม ผิวหนังหรือดวงตา มีสีอ่อนมาก
ผิวขาวซีด
ตาเหล่ แพ้แสง (ความไวต่อแสง)
การมองเห็นบกพร่อง หรือตาบอด
การรักษา
ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโดยตรง
การป้องกัน
การวางแผนครอบครัวก่อนมีบุตร
การตรวจสุขภาพเพื่อหาโรคทางพันธุกรรม
ภูมิต้านทานโรคต่างๆของคุณพ่อคุณแม่
คาร์โบไฮเดรต
การแพ้น้ำตาลแลคโตส
สาเหตุ
ภาวะที่ลำไส้ไม่สามารถผลิตน้ำย่อยออกมา
ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ที่ได้รับยีนส์ผิดปกติจากพ่อและแม่
อาการ
แน่นท้อง ท้องอืด
ปวดท้อง ผายลมบ่อย
คลื่นไส้ ท้องเสีย
อาเจียน ถ่ายเหลว
การรักษาและการป้องกัน
หลีกเลี่ยงการดื่มนมขณะท้องว่าง
ใช้นมที่ปราศจากน้ำตาลแลคโตส
ใช้เอนไซม์แลคเตสสังเคราะห์
งดหรือลดดื่มนมและผลิตภัณฑ์จากนมในปริมาณที่มากเกินกว่าร่างกายรับได้
ภาวะโลหิตจาง
สาเหตุ
ร่างกายมีปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดน้อยกว่าปกติ
อาจมาจากการเสียเลือด
การสร้างเม็ดเลือดแดงที่ลดลง
เม็ดเลือดแดงถูกทำลายมากขึ้น
อาการ
รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
มีอาการตัวซีด อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น
หายใจลำบากขณะออกแรง
มึนงง วิงเวียนศีรษะ ปวดหัว
เจ็บหน้าอก ใจสั่น
ในขั้นรุนแรงอาจทำให้หัวใจทำงานหนักจนหัวใจล้มเหลว
การรักษา
รับประทานยาปฏิชีวนะในการรักษาอาการติดเชื้อ
การให้ฮอร์โมนบางประเภท
การฉีดฮอร์โมนอิริโธรโพอิติน
ช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไขกระดูก
การรักษาด้วยวิธีคีเลชั่นบำบัด
ภาวะกรดเกินจากแลกเทต
สาเหตุ
ภาวะความผิดปกติของเลือดหรือของเหลวในร่างกายไม่สมดุล
อาจเกิดได้จากสภาวะหรือโรคต่าง ๆ
การควบคุมความสมดุลของเกลือแร่
ภาวะกรดด่างในร่างกายจากการทำงานของไต
อาการ
อ่อนเพลีย เซื่องซึม
เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
รู้สึกสับสน
ปวดศีรษะ
บางรายที่มีอาการรุนแรงอาจเกิดอาการไม่รู้ตัว หรือเสียชีวิต
การรักษา
รักษาได้เมื่อทราบสาเหตุที่เกิดอย่างแท้จริง
เน้นให้ค่าความเป็นกรดด่างหรือค่าพีเอชกลับมาอยู่ในภาวะปกติ
Galactosemia
สาเหตุ
เป็นภาวะที่ร่างกายขาดเอนไซม์
เป็นภาวะความผิดปกติในยีนด้อยของร่างกาย
เกิดจากการกลายพันธุ์ในยีน GALT, GALK1 และ GALE
อาการ
อาการชัก
ความหงุดหงิด
ความง่วง
ทารกไม่ยอมกินนมผงผสม
น้ำหนักขึ้นไม่ดี
ตาเหลืองและตาขาว
การอาเจียน
การรักษา
ควรหลีกเลี่ยงนม ผลิตภัณฑ์ที่มีนมทั้งหมด
สามารถให้อาหารสูตรถั่วเหลือง
แนะนำให้ใช้อาหารเสริมแคลเซียม
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานที่พบได้มี 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
Diabetes Type 1 (ชนิด ที่หนึ่ง)
สาเหตุ
ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย
การรักษา
ต้องฉีดอินซูลินตลอดชีวิต
Diabetes Type 2 (ชนิด ที่สอง)
สาเหตุ
และมีน้ำหนักค่อนข้างมาก
ตับอ่อนเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
อาการ
ปัสสาวะบ่อยและมาก ปัสสาวะกลางคืน
คอแห้ง กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก
รับประทานจุแต่น้ำหนักลดลง และมีอาการอ่อนเพลีย
ถ้าเป็นแผลจะหายยาก
ติดเชื้อรา โดยเฉพาะบริเวณช่องคลอด
ตาพร่ามัว
ชาปลายมือ ปลายเท้า
การรักษาโดยรวม
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ควบคุมอาหาร
บริโภคอาหารที่มีกากใยสูง
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
การใช้ยาจะเป็นลำดับสุดท้ายในการรักษา
การป้องกัน
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว
กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
กินผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ
กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
หลีกเลี่ยงอาหารหวานจัด และเค็มจัด
งดหรือลดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์