Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ
หน้าที่ของไต
สร้างสารที่ควบคุมความดันโลหิต
สร้างสารที่ช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
รักษาสมดุลของน้ำและเกลือแร่
สร้างactive form ของวิตามินดีซึ่งมีบทบาทควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกายช่วยทำให้กระดูกแข็งแรง
ขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหารต่างๆ
Effect of End Stage Renal Disease
Neurology: ซึม ชัก ขาดสมาธิ ความตั้งใจลดลง ไม่รับรู้วัน เวลา สถานที่
Gastrointestinal: แผลที่ปาก กระเพาะอาหาร เบื่ออาอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เลือดออก
Respiratory: ปอดบวมน้ำ ปอดอักเสบ
Hematology: โลหิตจาง เลือดออกง่าย ความต้านทานโรคต่ำ
Cardiovascular: ความดันโลหิตสูง หัวใจวาย เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
Electrolyte and acid-base balance: มีภาวะกรด โปแตสเซี่ยมสูง ฟอสฟอรัสสูง แมกนีเซียมสูง แคลเซียมต่ำ
Chronic renal failure/Chronic kidney disease
GFR < 60 ml/min/1.73mm
ไตมีความเสียหายมากกว่า 3 เดือน (โครงสร้าง หน้าที่)
สาเหตุ
Glomerular disease
Tubular System
Vascular disease
Collagen – related disease
Chronic renal failure process
Renal insufficiency: GFR 20-50% Cr 2-7mg/dl, Polyuria
End Stage Renal Disease: GFR 5-15%, BUN Cr สูง, uremia
Diminished renal reserve: GFR 50-90%, Renal hypertrophy, No symptoms, BUN Cr ปกติ
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1 ยังไม่พบความผิดปกติ บางรายมีโปรตีนในปัสสาวะ
ระยะที่ 2 อาการปกติ ความดันโลหิตเริ่มสูง ผลตรวจปกติ
ระยะที่ 3 อาจมีภาวะซีด Ca, Po4 และความดันโลหิตสูง
ระยะที่ 4 มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร บวม มีภาวะ Metabolic acidosis and Dislipidemia
ระยะที่ 5 เสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ มีอาการของยูรีเมีย เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผิวแห้งคัน นอนไม่หลับ คลื่นไส้ มีภาวะหัวใจวายเนื่องจากน้ำเกิน
Effect of Acute renal failure
หัวใจและหลอดเลือด หัวใจวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
หายใจ Kussmual breathing จาก Metabolic acidosis
ประสาท ซึม ชัก
ทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เลือดออก
Nursing care for Acute Renal Failure
มีภาวะขาดสารอาหารเนื่องจากมีการสลายตัวของโปรตีน และมีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากไตเสื่อมหน้าที่: หัวใจล้มเหลว เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
มีภาวะโปแตสเซียมเลือดสูง
มีความวิตกกังวล กลัว เกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการรักษา
มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและโซเดียมเนื่องจากไตเสื่อมหน้าที่
Conservative Treatment
ควบคุมสมดุลน้ำและเกลือแร่ โดยเฉพาะภาวะน้ำเกิน และโปแตสเซียมในเลือดสูง
ควบคุมสมดุลกรดด่าง เนื่องจากภาวะเลือดกรดจะทำให้ไตเสื่อมเร็วขึ้นผู้ป่วยมักได้รับยาโซดามิ้นท์ (Sodium bicabonate) เพื่อรักษา ระดับ HCO3 ไม่ให้ต่ำกว่า 23 mEq/l
ควบคุมความดันโลหิต เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยชะลอความเสื่อมของไต ดูแลให้ยาในกลุ่ม Angiotensin converting enzyme inhibitor and Anti diuretic drug งดอาหารเค็ม
ควบคุมอาหาร 60% ควรมาจากแป้งและน้ำตาล 30% มาจากไขมันถ้าได้พลังงานน้อยจะสลายกล้ามเนื้อ และนำไปสู่การเกิดของเสียมากขึ้น
Nursing care for Chronic Renal Failure
มีภาวะเลือดเป็นกรดและเสียสมดุลอิเล็กโตรไลท์เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของไตลดลง : บันทึก I/O และติดตามผลตรวจ ให้ยาตามแผนการรักษา ระวังอุบัติเหตุ
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากภาวะซีด /หัวใจล้มเหลว/เลือดคั่งที่ปอด…: จำกัดกิจกรรม ดูแลให้ได้รับออกซิเจน จัดท่านอน ดูแลให้ได้รับยา
มีภาวะไม่สมดุลน้ำในร่างกาย : บันทึก I/O, ชั่งน้ำหนัก ,สัญญาณชีพ
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจาก คลื่นไส้/ อาเจียน/ เบื่ออาหาร… ดูแลความสะอาดช่องปาก ติดตามภาวะโภชนาการต่อเนื่อง
Peritoneal Dialysis
มีความดันโลหิตสูงขณะทำ hemodialysis
Contraindication: เยื่อบุช่องท้องอักเสบ, พังพืดในช่องท้อง, บาดเจ็บหรือมีแผลไหม้ที่หน้าท้อง
ผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด, ตัวเล็กไม่สามารถหาเส้นเลือดได้
ลำไส้อุดตัน, ปริมาตรเลือดน้อย, ความบกพร่องในการแข็งตัวของเลือด
Hemodialysis
ไตวายเรื้อรัง
ภาวะน้ำเกินไม่ตอบสนองต่อยา
ภาวะสมองหรือระบบประสาทผิดปกติจากยูรีเมีย เช่น สับสน สั่น กล้ามเนื้อกระตุก และข้อมือข้อเท้าตก และมีภาวะเลือดออกผิดปกติ
Cr สูงกว่า 12 มก/ดล. หรือ BUN 100 มก/ดล. ขึ้นไป
กรณีภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะน้ำเกิน โดยเฉพาะมีภาวะหัวใจล้มเหลว และน้ำท่วมปอด และให้ยาขับปัสสาวะไม่ได้ผล
ภาวะเกลือแร่ในเลือดผิดปกติ ไม่ตอบสนองด้วยยา และภาวะเลือดเป็นกรด
ภาวะ Uremia เช่น คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ความรู้สึกตัวลดลง ซึม สับสน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดจากการได้รับการฟอกเลือด
เสี่ยงต่อภาวะได้รับสารน้ำและสารไม่เพียงพอเนื่องจากเบื่ออาหาร
มีโอกาสเกิดภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรไลต์ขณะฟอกเลือด
ไม่สุขสบายเนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง/ลิ่มเลือดอุดตัน
การดูแล
หากมีอาการปวด กดเจ็บ แผลอักเสบ มีไข้รีบมาพบแพทย์
พักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6-8 ชม.
ไม่นอนทับ และห้ามยกของหนักเกิน 10 กิโลกรัมข้างที่ทำ
หลีกเลี่ยงการรับประทานยาที่มีผลต่อไต เช่น แอสไพริน และพาราเซตามอล
ห้ามวัดความดัน เจาะเลือด และให้สารน้ำข้างที่ทำ