Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ
หน้าที่ของไต
-ขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหารต่าง
-สร้างสารควบคุมความดัน
-รักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่
สร้างactive fromของวิตามินดี
ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสเฟตในร่างกาย
ช่วยให้กระดูกแข็งแรง
ไตวายเฉียบพลัน
เกิดจากไตสูญเสียหน้าที่ชั่วคราว
ภาวะช็อค
การไหลเวียนโลหิตของไตผิดปกติ
ท้องเสียรุนแรง
แมลงมีพิษต่อย
อุบัติเหตุเสียเลือดมาก
โรคของเนื้อไต
มีการอุดกลั้นทางเดินปัสสาวะ
การวินิจฉัยระยะของไตวายเฉียบพลัน
ระยะที่1
ระดับครีอะตินินในเลือดเพิ่มหรือมากกว่าเท่ากับ1.5เท่าของค่าเริ่มต้นในเลือด
ระยะที่2
ระดับครีอะตินินในเลือดเพิ่มหรือมากกว่าเท่ากับ2ถึงน้อยว่า3เท่าของค่าเริ่มต้นในเลือด
ระยะ3
ระดับครีอะตินินในเลือดเพิ่มหรือมากกว่าเท่ากับ3เท่าของค่าเริ่มต้นใน
หรือมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า4Mg/dl
ผลของไตวายแบบเฉียบพลัน
ประสาท
ซึม ชัก
หลอดเลือดและหัวใจ
หัวใจวาย เยื่อบุหัวใจอักเสบ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากไตเสื่อมหน้าที่:หัวใจล้มเหลว:เยื่อบุหัวใจอักเสบ
ทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
มีภาวะขาดสารอาหารเนื่องจากมีการสลายตัวของโปรตีนและมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
โลหิต
ซีด เกร็ดเลือดต่ำ
อิเล็กโตรลัยท์
-Hyperkelemai
-Hypermagnesemia
-Hyponatremia
-Hypocalemia
-Hyperphosphasemia
มีภาวะโปรแตสเซียมสูง
มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและโซเดียมเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ระยะก่อนผ่าตัด
ภาวะเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
การตัดตันของเส้นเลือดที่ไต
ระดับMAPไม่เหมาะสม
ความดันต่ำ
ภาวะการทำงานของไตบกพร่องจากnephrotoxins
การที่ผู้ป่วยได้รับยาที่ทำให้เกิดidiosyncratic immune response เช่น ยาแก้ปวดกลุ่มNSAID
ภาวะอักเสบ
พบในผู้ป่วยที่มีหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
พบในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในร่างกาย
ระยะผ่าตัด
ไตวายเรื้อรัง
สาเหตุ
โรคต้อหิน
ระบบท่อ
โรคหลอดเลือด
โรคเนื้อเยื่อปอดอักเสบ
การอุดกลั้น
โรคประจำตัว
การเผาผลาญสารอาหารผิดปกติ
มีแผลที่ปากและกระเพาะอาหาร
การวินิจฉัยระยะของไตเรื้อรัง
ระยะที่1ค่าeGFRมากกว่าหรือเท่ากับ90
ระยะที่2 ค่าeGFRเท่ากับ60-89
ระยะที่3 ค่าeGFRเท่ากับ30-59
ระยะที่4 ค่าeGFRเท่ากับ15-29
ระยะสุดท้าย ค่าeGFRน้อยกว่า15
ควรพบแพทย์
อาการและอาการแสดง
ระยะ1ยังไม่พบความผิดปกติบางรายมีโปรตีนในปัสสาวะ
ระยะที่2อาการปกติ ความดันเริ่มสูง
ระยะ3มีภาวะซีด ความดันสูง
ระยะ4 มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร บวม
ระยะสุดท้าย เสียสมดุลน้ำ เกลือแร่ ผิวแห้ง อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
ผลของไตวายเรื้อรัง
ความดันสูง เยื่อหุ้มหัวใจอ้กเสบ
ปอดบวม ปอดอักเสบ
หายใจเร็ว ฟังเสียงปอดได้เสียงCrepitations
มีภาวะซีด โลหิตจาง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ซึม ขาดสมาธิ ไม่รับรู้วันเวลาสถานที่
มีภาวะกรด
การเจริญเติบโตช้า
ความต้องการทางเพศลดลง
การพยาบาลภาวะไตเรื้อรัง
1 มีภาวะไม่สมดุลน้ำ ในร่างกาย
บันทึก I/O, ชั่งน้ำหนัก,สัญญาณชีพ
3 มีภาวะเลือดเป็นกรดและเสียสมดุลอิเล็กโตรไลท์เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของไตลด
บันทึก I/O และติดตามผลตรวจ ให้ยาตามแผนการรักษา ระวังอุบัติเหตุ
2 เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากภาวะซีด/หัวใจล้มเหลว/เลือดคั่งที่ปอด
จำกัด
กิจกรรม ดูแลให้ได้รับออกซิเจน จัดท่านอน ดูแลให้ได้รับยา
4 เสี่ยงต่อการสูญเสียหน้าที่ของผิวหนังการระคายเคืองหรือแผลในเยื่อบุ
ช่องปาก
Dialysisการฟอกไต
Acute Peritoneal Dialysis: 48-50 cycle
Intermittent Peritoneal Dialysis: 3-4 ครั้ง/สัปดาห์
Continuous Cyclic Peritoneal Dialysis: 4 cycle/คืน,(ถาวร ทำทุกวัน)
Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis: 3-5 cycle(ฟอกเลือด)