Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนใน ระยะหลังคลอด, นางสาววิภาดา…
หน่วยที่ 9 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนใน
ระยะหลังคลอด
Hematoma
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
การคลอดเร็ว (precipitous labor)
การคลอดเร็ว (precipitous labor)
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
การคลอดที่ใช้เครื่องมือ
อาการ/อาการแสดง
ฝีเย็บบวมมาก
เจ็บปวดฝี เย็บอย่างรุนแรง(ปวดหน่วง)
บางรายอาจปัสสาวะไม่ได้
การวินิจฉัย
เจ็บปวดอย่างรุนแรงบริเวณฝีเย็บ
พบก้อนเลือดขังอยู่ใต้เยื่อบุผิว/ในเนื้อเยื่อบริเวณช่องคลอด
ระดับ Hb,Hct ลดลงจากระยะก่อนคลอดประมาณ 1-1.5 g/dl และ 2-4 volume %
platelet, prothrombin ลดลง
clotting time เพิ่มขึ้น
การป้องกัน
ทำคลอดด้วยเทคนิคที่นุ่มนวลและถูกต้อง
ตัดฝีเย็บอย่างเหมาะสม/เย็บซ่อมแซมบริเวณที่มีการฉีกขาดอย่างถูกวิธี
หลังรกคลอดให้คลึงมดลูก/ไล่ก้อนเลือดออกจากโพรงมดลูดอย่างนุ่มนวล
ติดตาม/เฝ้าระวังการเกิดปัญหาเลือดคั่งบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การรักษา
ถ้าเลิดที่คั่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5 ซม. ไม่จำเป็นต้องผ่าตัด ใช้การประคบความเย็น
ถ้าเสียเลือดจำนวนมาก ให้เลือด
ถ้าก้อนเลือดที่คั่งมีขนาดใหญ่ต้องผ่าตัดเปิดแผลเอาก้อนเลือดที่คั่งอยู่
ถ้าก้อนเลือดมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง > 5 ซม.ให้ Retained foley's cath
การพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง ให้นอนพักบนเตียงเป็นการหยุดเลือด
การประคบด้วยน้ำเย็น : ให้การไหลเวียนช้าลง
ถ้าบวมมาก/ปวดรุนแรง ให้รายงานแพทย์
Infection
การพยาบาล
ทันทีหลังคลอด เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน สิ่งที่ปนเปื้อนเลือด ปัสสาวะ อุจจาระ
แยกมารดาหลังคลอดจากผู้ป่วยอื่นที่มีการติดเชื้อ
เครื่องมือต่างๆที่ใช้ต้องสะอาดปราศจากเชื้อ
ไม่ควรใช้ของร่วมกันผู้อื่น
กระตุ้นฝห้มารดาหลังคลอดดื่มน้ำมากๆ รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง
รักษาสิ่งแวดล้อมให้สะอาด แห้ง อากาศถ่ายเทดี
หมายถึง การติดเชื้อขอลระบบสืบพันธุ์ที่เกิดขึ้นภายใน 28 วัน หลังแท้ง/หลังคลอด หรือ ใน 6 wks.แรกของการคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติการติดเชื้อระบบอวัยวะสืบพันธุ์
ในระยะตั้งครรภ์
โรคเบาหวาน
โลหิตจาง
ทุพโภชนาการ
ติดเชื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
สูบบุหรี่
น้ำหนักเกิน
ในระยะคลอด
ผ่าตัดคลอดทารกออกทางหน้าท้อง
ไดรับการสวนปัสสาวะ
ตัดฝีเย็บ/มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ตรวจภายในบ่อย
รกค้าง/ได้รับการล้วงรก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อยคลอดเกิน 24 ชม.
มีการติดเชื้อของเยื่อหุ้มทารก/ถุงน้ำคร่ำ
ใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
ระยะหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
ร่างกายอ่อนแอ
มีการบวมเลือด
อ่อนเพลีย Dehydration
ดูแลแผลฝีเย็บไม่ถูกต้อง
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
รู้สึกไม่สุขสบาย
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ปวดท้องน้อย
คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร
ท้องอืด ลำไส้อุดตัน
ปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
ใจสั่น
ช็อค
มีอาการแสดงของการติดเชื้อ
การรักษา
ให้ antibiotics
ให้ IV fluid
ติดตามผลการเพาะเชื้อจากเลือด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยาแก้ปวด
Postpartum hemorrhage (PPH)
ระดับความรุนแรง
ระดับเล็กน้อย (Mild PPH)
สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 ml ขึ้นไป
ระดับรุนแรง (Severe PPH)
สูญเสียเลือดตั้งแต่ 1,000 ml ขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก
(Very severe or major PPH)
สูญเสียเลือดตั้งแต่ 2,500 ml ขึ้นไป
สาเหตุ
Tone ความผิดปกติของการหดรัด
ตัวของมดลูก
Trauma คือ สาเหตุเกี่ยวกับการฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue คือ สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับรก เยื่อหุ้มรกหรือชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก(Retained products of conception)
Thrombin คือ สาเหตุเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดปกติ(Defects in coagulation)
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออก
มีอาการของการเสียเลือด
ซีด
ความดันโลหิตต่ำ
เหงื่อออก
ใจสั่น
ตัวเย็น
รู้สึกกระหายน้ำ
คลำมดลูกอาจพบว่าอยู่เหนือระดับสะดือหรือมีขนาดใหญ่กว่าปกติ
อันตรายจากการตกเลือด
อาจถึงแก้ชีวิต
ทำให้สุขภาพอ่อนแอ เป็นโรคโลหิตจาง และมีความต้านทานต่อการติดเชื้อน้อย เกิดจากอักเสบได้ง่าย
ผลในระยะยาว อาจทำให้เซลล์ของต่อมใต้สมองตาย และเป็นผลทำให้การทำงานของระบบต่อมไร้ท่ออื่นๆ เกิดความบกพร่อง
การพยาบาลการตกเลือดระยะหลัง
รายที่มีเศษรก/ก้อนเลือดค้างอยู่ในโพรงมดลูก ให้ Oxytocin/ขูดมดลูก
รายที่มีการติดเชื้อในโพรงมดลูก ให้ Methergin
รายที่มีเลือดออกจากแผลในช่องคลอด ให้ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด
ถ้าเนื้อเยื่อบริเวณแผลยุ่ยมากเย็บแล้วเลือดไม่หยุด ให้กดไว้/ใส่ vaginal packing + antibiotics
ภาวะเนื้อเยื่อของต่อมใต้สมองส่วนหน้าตาย (Postbirth anterior pituitary necrosis)
Sheehan syndrome)
เต้านมเหี่ยวเล็กลง ไม่มีน้ำนมเลี้ยงทารก ขนรักแร้/หัวเหน่า ร่วงหลุดและไม่งอกขึ้นอีกเลย อวัยวะเพศภายนอกกลีบเล็ก ไม่มีประจำเดือน แก่เร็ว เหนื่อยง่าย หงุดหงิดง่าย
การรักษา
รักษาด้วยฮอร์โมนระยะยาวหรือตลอดชีวิต
รักษาการทำงานของระบบสืบพันธุ์
รักษาการทำงานของระบบเผาผลาญ
รักษาการทำงานของต่อมหมวกไต
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดภาวะแทระซ้อนตามชนิดของฮอร์โมนที่ขาดไป
ภาวะที่ต่อมหมวกไตไม่สามารถผลิตฮอร์โมนได้ (Adrenal Crisis)
ความดันโลหิตต่ำจนช็อก โคม่า หรือเสียชีวิต
การป้องกัน
ลดความเสี่ยงของอาการเลือดออกมากระหว่างการคลอดและความดันโลหิต่ำหลังคลอด
ทำคลอดโดยวิธีที่เสียเลือดน้อย และหมั่นสั่งเกตุอาการผิดปกติต่างๆ
นางสาววิภาดา ชื่นใจ เลขที่ 37