Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาาลผู้ป่วยทางจักษุ - Coggle Diagram
การพยาบาาลผู้ป่วยทางจักษุ
ต้อกระจก
พยาธิสภาพ
ต้อกระจกแก้วตาประกอบด้วยน้ำ 65% เป็นโปรตีน 35% แร่ธาตุในระยะแรกจะมีการซึมผ่านของน้ำมากกว่าภาวะปกติทำให้เนื้อเยื่อของแก้วตาบวม
ต้อกระจกมี 3 ชนิด
1.ต้อกระจกในวัยสูงอายุ
2.ต้อกระจกโดยกำเนิด
3.ต้อกระจกทุติยภูมิ
อาการของเลนส์ตาขุ่น
ตามัวลงเรื่อยๆที่ละน้อย ตามัวเหมือนมีหมอกบัง มองในที่มืดชัดกว่าที่สว่าง
การรักษา
การผ่าตัดรอจนกว่าต้อสุก ยกเว้นทารกที่เป็นต้อกระจกมาแต่กำเนิด ต้องผ่าตัดเมื่ออายุ 6 เดือน
การผ่าตัดเอาแก้วตาออก ไม่มียาที่ใช้กินหรือหยอดแก้อาการของต้อกระจก
Lens ตาขุ่นเกิดจากสาเหตุ
ส่วนใหญ่ เกิดจากภาวะเสื่อมตามวัย คนที่มีอายุมากกว่ส 60 ปี จะเป็นต้อกระจกแทบทุกคน ส่วนน้อยเกิดจากสาเหตุอื่นๆเช่น เป็นมาแต่กำเนิดการได้รับบาดเจ็บ ความผิดปกติของตา
อาการแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต้อกระจก
1.ความดันลูกตาสูง
2.การดึงรั้งของแผลเย็บ
3.เลือดออกในช่องหน้าม่านตา
4.การติดเชื้อ
5.ท่อทางเดินน้ำตาเกิดการติดเชื้อ
เป็นภาวะที่แก้วตาหรือเลนส์ตา ภายในลูกตามีลักษณะขุ่นมากขึ้น จากปกติที่มีลักษณะโปร่งใสเหมือนกระจกเมื่อแก้วตาขุ่นขาวก็จะมีลักษณะทึบแสง
อาการแทรกซ้อน
ต้อสุกและไม้ได้รับการผ่าตัด จะทำให้ตาบอดสนิท ในบางคนแก้วตาอาจบวมหรือหลุดลอย ไปอุดกั้นทางระบายของเหลวในลูกตา ทำให้ความดันภายในลูกตาสูงขึ้นจนกลายเป็นต้อหินได้
ต้อหิน
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Pilocarpine
Diamox
การผ่าตัด
Iridectomy
Trabeculectomyetc
Acute glaucoma
ปวดตามาก
ปวดศีรษะ
ตาแดง ตามัวลง
คลื่นไส้อาเจียน
มองเห็นแสงวุ้นรอบดวงไฟ
ปัจจัยเสี่ยง
มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคต้อหิน
เพศ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
ดื่มสุรา สูบบุหรี่ เป็นประจำ
อายุมากกว่า 40 ปี มีโอกาสเป็นโรคเพิ่มขึ้น 2 เท่า
Chronic gloucoma
การมองเห็นค่อยๆลดลง
ไม่สามารถแก้ไขด้วยแว่น
ปวดมึนศีรษะเล็กน้อย
เป็นภาวะที่มีความดันสูง ทำให้มีความผิดปกติของการมองเห็นลานสายตาผิดปกติ เนื่องจากมีการทำลายปมประสาทของจอประสาทและเส้นประสาทตาฝ่อ ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาจตาบอดได้
จอประสาทตาลอก
เบาหวานขึ้นตา
โรคแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งทำให้ผนังเส้นเลือดที่จอประสาทตาผิดปกติ มีเม็ดเลือด น้ำเหลืองหรือไขมันซึมออกมา ทำให้จอประสาทตาบวม ขาดเลือดไปเลี้ยง
อาการ
ระยะแรกมองเห็นจุดดำลอยไปมา
มองเห็นแสงระยิบระยับ
มองเห็นคล้ายมีม่านบังตา
ตามัวมากขึ้น
การรักษา
การใช้แสงเลเซอร์
การฉีดแก๊ส C3F8
การฉีดยาเข้าน้ำวุ้นตา
การผ่าตัดรัดบริเวณตาขาว
การผ่าตัดน้ำวุ้นตา
การใช้ยารักษาโรคเดิมที่เป็นสาเหตุ
ประเภทของจอประสาทตาลอก
Primary retina detachment จอประสาทตาลอกชนิดปฐมภูมิหรือชนิดไม่ทราบสาเหตุ
Secondary retinal detachment จอประสาทตาลอกชนิดทุติยภูมิหรือชนิดทราบสาเหตุ
จอประสาทตาลอก แบ่งตามพยาธิสภาพ ได้เป็น 3 ชนิด
จอประสาทตาลอกชนิดที่มีรู
จอประสาทตาลอกชนิดที่มีการดึงรั้ง
จอประสาทตาลอกชนิดที่มีความผิดปกติของการซึมผ่าน
การลอกหลุดหรือการแยกชั้นของ Sensory Retina ออกจาก Retinal Pigment Epithelium เป็นโรคเร่งด่วนทางตา ที่ต้อได้รับการรักษาทันที่ เพราะเสี่ยงต่อภาวะตาบอดสูง มักพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง มักพบในอายุ 40-70 ปี
แผลที่กระจกตา
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
ภาวะขาดสารอาหารและวิตามินเอ
ความผิดปกติของหนังตา
ตาปิดไม่สนิทเวลาหลับ
การรักษา
รักษาตามสาเหตุ
ผ่าตัด
Kevatoplasty
สูญเสียหน้าที่การป้องกันอันตรายต่อกระจกจตา ทำให้เชื้อโรคเข้าสู่กระจกตาเกิดการอักเสบและการติดเชื้อ เป็นแผลที่กระจกตา
อุบัติเหตุทางตา
การบาดเจ็บตาจากมีของคม
การบาดเจ็บตาจากการมีแรงกระทบกระแทก
การบาดเจ็บตาส่วนผิวนอกของตา