Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการ ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลจิตเวช, นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง…
วิวัฒนาการ ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลจิตเวช
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์และการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในต่างประเทศ
ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำบรรพ์
คนเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ผีสางนางไม้
อำนาจลึกลับ
คนเจ็บป่วยทางจิตจึงถูกกล่าวหาว่าถูกวิญญาณ
การรักษา ทำโดยพระหรือหมอผี ใช้วิธีรดน้ำมนต์ปัดเป่า
ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน
Hippocrates เป็นบิดาแห่งการแพทย์เชื่อว่าความเจ็บป่วยทางกาย และจิตเป็นผลมาจากธรรมชาติ ของเหลวในร่างกายไม่สมดุล
การรักษาใช้ยาระบาย การชำระล้าง การใช้ไอน้ำ การนวด การออกกำลังกาย
ยุคกลางหรือยุคมืด
มีการทรมานผู้ป่วยด้วยวิธีต่าง ๆ เชื่อเรื่องแม่มดเวทมนต์คาถามีการเผาทั้งเป็นการถ่วงน้ำ
ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
เริ่มมีโรงพยาบาลจิตเวช แต่วิธีการรักษายังใช้การกักขังไม่ให้ติดต่อกับใคร
ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่
เบนจามิน รัช บิดาแห่งจิตเวชของสหรัฐอเมริกา เขียนหนังสือเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิตเป็นเล่มแรก
เริ่มรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาลปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างมีมนุษยธรรม
จิตเวชสมัยใหม่
พัฒนาแนวคิดทฤษฎีทางจิตสังคม Sigmund Freud แพทย์ชาวออสเตรียมรักษาโดยการสะกดจิต คิดค้น และพัฒนาทฤษฏีจิตวิเคราะห์
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในต่างประเทศ
เริ่มตั้งแต่สมัย Florence Nightingale ปี 1939 มีการมองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
ปัจจุบันเรียกว่าการสื่อสารเพื่อการบำบัดEffie Taylor บรรจุวิชาการพยาบาลจิตเวชไว้ในหลักสูตรการพยาบาล มหาวิทยาลัย John Hopkins
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย
ยุคดั้งเดิม ปี พศ. 2432 -2467
สร้างโรงพยาบาลคนเสียจริตแห่งแรกที่ปากคลองสาน ปัจจุบันคือสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ให้การรักษาอย่างมีเมตตา กรุณา
ยุคโรงพยาบาลจิตเวชแผนใหม่ ปีพศ. 2468-2484
นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ผู้อำนวยการลำดับต่อมาได้รับสมญานามเป็นบิดาแห่งจิตเวชศาสตร์ไทย เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลเป็น โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา
สร้างโรงพยาบาลจิตเวชตามภาคต่างๆ เช่น รพ. ศรีธัญญา สวนปรุง สวนสราญรมย์
ยุคของงานสุขภาพจิต ปี พศ.2485-2503
ริเริ่มงานส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เพื่อลดจำนวนผู้ป่วย เปิดคลินิกศูนย์สุขวิทยาจิต
ยุคแรกเริ่มงานสุขภาพจิตชุมชน ปี พศ. 2504-2514
จัดให้มีการรักษาแบบ Milieu therapy มีบ้านกึ่งวิถี Half - way house มีโรงพยาบาลกลางวัน ( Day hospital)
ยุคของการผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริการสาธารณสุข ปี พศ.2515-2524
ให้ความสำคัญกับงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน ผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริกาสาธารณสุขทั่วไป
ยุคของการสาธารณสุขมูลฐาน ปี พศ. 2525-2534
ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5,6เป้าหมายให้ประชากรทั่วโลกมีสุขภาพดีถ้วนหน้าปี 2543
ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย
โครงสร้างประชากรมีผู้สูงอายุมากขึ้น และครอบครัวมีขนาดเล็กลง แนวโน้มต่อไปจะเป็นครอบครัวเดี่ยวหรืออยู่คนเดียว
ความผิดปกติทางจิตเป็นสาเหตุของการสูญเสียสุขภาวะในระดับต้นๆ เช่นเพศชายก็จากแอลกอฮอล์ เพศหญิงก็อาการซึมเศร้า วิตกกังวล
บุคลากรด้านสุขภาพจิตมีน้อย เช่นจิตแพทย์ 0.86 ต่อแสนประชากร พยาบาลจิตเวช 3.74 ต่อแสนประชากร
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเมือง
การบริการสุขภาพเน้นคุณภาพการดูแลและความปลอดภัยของผู้ป่วยมากขึ้น
แนวโน้มการพยาบาลจิตเวชในประเทศไทย
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ประชากรสูงอายุมากขึ้น
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กเพิ่มขึ้น
การขาดแคลนบุคลากรทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในปัจจุบัน
มีการพัฒนาทั้งด้านการศึกษาและการบริการ
มีหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
มีหลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตหลักสูตร 2 ปี
หลักสูตรวุฒิบัตรสาขาการพยาบาลจิตเวช ( เทียบเท่าปริญญาเอก) เรียกว่า APN ต่อยอดจากหลักสูตรมหาบัณฑิต
งานบริการเน้น Holistic care การดูแลต่อเนื่องในชุมชน
นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง 6301110801058