Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช "แนวคิดพื้นฐานทางการพยาบาล…
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
"แนวคิดพื้นฐานทางการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช"
วัตุถุประสงค์ของ พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551
เพื่อปกป้องคุมครองส่งเสริมและ ปรับปรุงคุณภาพชีวิตและ สุขภาพจิตของ ประชาชน
เพื่อส่งเสริมและคุมครองสิทธิ มนุษย์ชนของผู้ ที่มีความผิดปกติทางจิต
เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจ เกิด ขึ้นจากผู้ป่วยจิตเวช
บทที่ 1
วิวัฒนาการ ประเด็นและแนวโน้ม ทางการพยาบาลจิตเวช
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ใน ต่างประเทศ
-ประวัติความเป็นมาของจิตเวชศาสตร์เป็นสิ่งที่ ช่วยให้ เกิดความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาการทาง จิตเวช ได้แก่ แนวความคิด ทฤษฎี ความเชื่อ การศึกษา ค้นคว้า
-วิวัฒนาการความเป็นมาของจิตเวชศาสตร์ จําแนกได้เป็น 6 ยุค
1.ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุค ดึกดําบรรพ์( PREHISTORIC PERIOD หรือ PRIMITIVE DEMONOLOGY)
ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน ( GREKO - ROMAN PERIOD)
ยุคกลางหรือยุคมืด ( MIDDLE AGES OR DARK AGES)
ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
( PRODROMES OF MODERN PSYCHIATRY)
ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่( EARLY MODERN PSYCHIATRY)
จิตเวชสมัยใหม่( MODERN PSYCHIATRY)
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพ จิต และจิตเวชในต่างประเทศ
-เริ่มตั้งแต่สมัย Florence Nightingale ปี1939 มี การ มองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมประกอบด้วย ร่างกาย และจิตวิญญาณไม่ สามารถแยก ออกจากกันได้ ผู้ป่วยเป็นสมาชิกคนหนึ่ง ของครอบครัวและ ชุมชน ซึ่งถือว่าเป็นศูนย์ กลางของการพยาบาล
-ปี1913 Effie Taylor บรรจุวิชาการพยาบาล จิตเวชไว้ใน หลักสูตรการพยาบาล มหาวิทยาลัย John Hopkins โดยการบูรณาการมโน ทัศน์การ พยาบาลทั่วไปและการพยาบาลสุขภาพ จิตเข้าด้วยกันไม่สามารถ แยกจากกันได้
-ปี 1952 Hidegard Peplau เผยแพร่ตําราและ แนวคิดเรื่องการใช้สัมพันธภาพ
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ใน ประเทศไทย
ยุคดั้งเดิม ปีพศ. 2432 -2467 สร้างโรง พยาบาล คนเสียจริตแห่งแรกที่ปาก คลองสาน ปีจจุบันคือสถาบัน จิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
ยุคโรงพยาบาลจิตเวชแผนใหม่ ปีพศ. 2468-2484 หลวงวิเชียรแพทยาคมเป็นผู้อํานวยการ คนแรก เปลี่ยนชื่อ โรงพยาบาลเป็น โรงพยาบาลโรคจิตธนบุรี นายแพทย์ฝนแสงสิงแก้ว ผู้อํานวยการ
ยุคของงานสุขภาพจิต ปีพศ.2485-2503 ริเริ่มงานส่งเสริมป้องกัน ปัญหา สุขภาพจิต เพื่อลดจํานวน ผู้ป่วย เป็นคลินิกศูนย์สุขวิทยาจิต ใช้วิธีการรักษาใหม่ๆแบบตะวันตก เช่น ทําจิตบําบัดพฤติกรรมบําบัด บําบัดด้วยยากล่อม ประสาท
4.ยุคแรกเริ่มงานสุขภาพจิตชุมชน ปีพศ. 2504-2514 ดําเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ปี2507
ยุคของการผสมผสานงานสุขภาพจิต เข้ากับระบบบริการ สาธารณสุข ปี พศ.2515-2524ให้ความสําคัญกับงานด้านสุขภาพจิต และจิตเวชชุมชน ผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบ บริกาสาธารณ สุขทั่วไป
ยุคของการสาธารณสุขมูลฐาน ปีพศ. 2525-2534 ตาม แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5,6 เป้าหมายให้ประชากรทั่วโลกมี สุขภาพดีถ้วนหน้าปี 2543
ยุคของงานส่งเสริมป้องกัน ปีพศ. 2535- ปัจจุบัน ตาม แผนพัฒนาฯฉบับที่7สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วม เน้นการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพ จิตเชิงรุก
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิต เวช ในปัจจุบัน
-มีการพัฒนาทั้งด้านการศึกษาและการ บริการ
-มีหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการ พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
-มีหลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาการ พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต หลักสูตร 2 ปี
-หลักสูตรวุฒิบัตรสาขาการพยาบาลจิต
ขั้นตอนและแนวทางการดําเนินงาน
เจอ:เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติ ทางจิต ตามมาตรา 22
แจ้ง:เจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เช่น ตํารวจ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข กํานัน ผู้ใหญ่บ้านเพื่อ นําส่งสถาน พยาบาลตามมาตรา 27 โดยเร็วไม่ชักช้า
ตรวจ:สถานพยาบาลของรัฐหรือสถาน บําบัดรักษาต้องประเมิน
อาการ ตรวจวินิจฉัยภายใน ชั่วโมง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องการพยาบาลสุขภาพ จิต และจิตเวชในประเทศไทย
-โครงสร้างประชากรมีผู้สูงอายุมาก ขึ้น และครอบครัวมีขนาดเล็กลง
-ความผิดปกติทางจิตเป็นสาเหตุของ การสูญเสียปี สุขภาวะในระดับต้นๆ เช่นเพศชายก็จาก แอลกอฮอล์เพศหญิงก็อาการซึมเศร้า วิตกกังวล
ปัญหาสุภาพจิตเด็กมีมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และการเมือง
การบริการสุขภาพเน้นคุณภาพการดูแล และความปลอดภัยของผู้ป่วยมากขึ้น
แนวโน้มการพยาบาลจิตเวช ใน ประเทศไทย
การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ผู้รับบริการมาจาก หลากหลายวัฒนธรรม หลายศาสนา ต้อง พัฒนาความรู้ในการให้บริการข้าม วัฒนธรรม
ประชากรสูงอายุมากขึ้น
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กเพิ่ม ขึ้น
ประเด็นการเพิ่มคุณภาพการดูแลความ
บทบาทของพยาบาลตาม พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551
พยาบาลดูแลผู้ป่วยตามพ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 ในระยะ ก่อนประชุมคณะกรรมการสถานบําบัด และระยะหลังการ ประชุม พยาบาลให้การ บําบัดรักษาตามอาการ ในกรณีที่ ต้องลง นามยินยอมให้การรักษา เช่นต้องทําการ รักษาด้วย ไฟฟ้า พยาบาลจะนําเอกสาร และรายงานเข้าประขุมคณะ กรรมการ สถานบําบัดให้ลงความเห็นชอบ
บทที่2
สุขภาพจิต การเจ็บป่วยทางจิตและ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ พยาบาล จิตเวช
สุขภาพจิต ( MENTAL HEALTH)
องค์การอนามัยโลกให้ความหมายของ ภาวะสุขภาพว่า “เป็นภาวะที่เป็นสุขทั้งร่างกาย จิตใจ และ สังคม ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคหรือการ เจ็บไข้ได้ ป่วยเท่านั้น”
พฤติกรรมของบุคคลจะเป็นสิ่งบางชี้ถึง สุขภาพจิตของเขา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของ บุคคล
ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น อุปนิสัย หน้าตา ความภูมิใจ ในตนเอง ความพร้อมที่จะ พัฒนา การเป็นตัวขอวตัว เอง การพึ่ง พาผู้อื่น
ปัจจัยระหว่างบุคคล ได้แก่ความ สัมพันธ์ ระหว่างบุคคล การสื่อสารที่มีประสิทธิผล ความสามารถใน การช่วยเหลือผู้อื่น
ความเจ็บป่วยทางจิต ( MENTAL ILLNESS )
เกณฑ์ทั่วไปที่ใช้วินิจฉัยความผิดปกติ ทางจิต
ความไม่พึงพอใจในคุณลักษณะ ความสามารถและความสําเร็จของตน
สัมพันธภาพบกพร่อง ไม่สามารถ ปรับตัวหรือจัดการปัญหาในชีวิต ไม่ อยู่ในโลกของความเป็นจริง
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ใช้ทั้งศาสตร์จา- ทฤษฎีทางจิตสังคม ประสาท ชีวภาพ(Neurobiological theory )
หลักฐานเชิงประจักษ์ใช้ทั้งศิลปะ
การใช้ตนเองบําบัดอย่างมีเป้าหมาย
ทํางานกับบุคคลทุกช่วงกลุ่มวัย ทํางานได้ทุกสถานการณ์
ทีมสหวิชาชีพ
( MULTIDISCIPLINARY MENTAL HEALTH CARE TEAM)
จิตแพทย์(Psychiatris)หน้าที่บํา บัด รักษา การให้ยา การผ่าตัด
พยาบาลจิตเวช ( Psychiatic Nurse) ให้การ พยาบาลประสานงานระหว่างทีมการรักษา เป็นผู้ สังเกต ผู้จดบันทึกอาการของผู้ป่วย ตลอด 24 ชั่วโมง
นักจิตวิทยาคลินิกรับผิดชอบการตรวจ ทางจิตวิทยาได้ แก่
-การตรวจสภาพจิต ( Psychological test) -การทดสอบ ระดับสติปัญญา ( IQ) -การทดสอบบุคลิกภาพ ( Personality test)
นักสังคมสงเคราะห์ให้การช่วยเหลือ รับผิดชอบครอบครัว ชุมชน
นางสาวสุอังคนา ธิศาเวช
รหัสนักศึกษา 6301110801056