Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิง อายุ 82 ปี แพทย์วินิจฉัย : CA colon, CT : พบก้อนเนื้อที่ปอดล่…
ผู้ป่วยหญิง อายุ 82 ปี
แพทย์วินิจฉัย : CA colon
พยาธิภาพ
กระบวนการเกิดที่ Cell ปกติถูกเปลี่ยนเป็นCellมะเร็ง (Neoplastic cell) และเจริญเติบโตผิดที่เยื่อบุลำไส้ ทำให้เกิดการตีบ แคบ และมีการลุกลามไปยังอวัยวะต่างๆของร่างกายได้
ปัจจัยเสี่ยง
อาหาร พบว่าส่วนใหญ่เป็นอาหารที่มีไขมัน ทานอาหารที่มีกาใยน้อย และมีประวัติท้องผูกเป็นนิสัย
ผู้ป่วยชอบรับประทานคือ อาหารรสจัด เปรี้ยว เช่น ส้มตำ ไก่ย่าง
ไม่ทานผลไม้
กรรมพันธุ์
จากการซักประวัติ ไม่พบคนในครอบครัวมีประวัติเป็นมะเร็ง
พบได้ในทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่จะพบในอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป
ผู้ป่วยอายุ 82 มีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุผนังลำไส้ใหญ่
มีประวัติท้องผูกเป็นนิสัย
ท้องผูก ไม่ค่อยถ่าย
การวินิจฉัย
ซักประวัติการรับประทานอาหาร นิสัยใจการขับถ่ายอุจจาระ
การตรวจร่างกาย คลำพบก้อนที่บริเวณหน้าท้อง
การตรวจพิเศษ
ส่องกล้องเข้าไปตรวจดูลำไส้ส่วนซิกมอยด์และติดชิ้นเนื้อไปตรวจ
การส่องกล้องเข้าไปตรวจดูลำไส้ใหญ่ ดูตำแหน่งมะเร็ง และตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ
การเอกซเรย์
วันที่ 13 มีนาคม 2565 แพทย์วินิจฉัยเบื้องต้นคือลำไส้อุดตัน แพทย์ order CT of whole abdomen แสดงผลเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ ขนาดยาวประมาณ 5.0 เซนติเมตร พบที่ตำแหน่ง Descending colon
การตัดชื้อเนื้อไปตรวจและ TC scan
การตรวจทางห้องทดลอง เช่นการตรวจ CEA
CEA : 27.62 ng/mL
การรักษา
การผ่าตัด
ชนิดถาวร (permanant colostomy)
วันที่ 15 มีนาคม 2565 ครั้งแรก : Explore- lap hemicolectomy with hartman’s processes
วันที่ 20 มีนาคม 2565 ครั้งที่ 2 : Re Explor-lap with Subtotal Colectomy with end Ileostomy
ชนิดชั่วคราว (Temporary colostomy)
รังสีรักษา
เคมีบำบัด
อาการและอาการแสดง
อาการระบุตำแหน่ง
ลำไส้ด้านซ้าย การถ่ายอุจจาระผิดปกติ เช่น ท้องผูก หรือถ่ายบ่อยครั้งแต่ไม่เป็นอุจจาระร่วง ลำไส้อุดตัน ปวดท้องเป็นพักๆ หรือมีเลือดปนอุจจาระ
ลำไส้ตรง ถ่ายเป็นเลือด หรือปนมากับอุจจาระ ปวดหน่วงหรือถ่ายแล้วมีความรู้สึกไม่สุด
ทวารหนัก เป็นก้อนคลำได้ ถ่ายเป็นเลือดสด ถ่ายแล้วปวดหรือต่อมน้ำเหลือโตบริเวณขาหนี
ลำไส้ด้านขวา มักมาด้วยมีก้อน ไม่มีอาการร่วม อาการแสดงช้า อาจอ่อนเพลีย ปวดหน่วงท้องด้านขวา
ท้องผูกสลับกับท้องเสีย
10 วันก่อนไม่ถ่ายอุจจาระ ไม่ผายลม
ท้องผูก ไม่ค่อยถ่าย
ถ่ายปนเลือด
ไม่มีถ่ายปนเลือด
อุจจาระมีขนาดเล็กหรือบางลง
อุจจาระมีขนาดเล็กลง
น้ำหนักลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ
ผู้ป่วยน้ำหนักลงลด 2-3 Kg
แน่นท้องหรือปวดท้องบ่อยๆ
ผู้ป่วยมีอาการแน่นท้อง ปวดท้องถี่ๆ ก่อนมาโงพยาบาล
R/O มีการลุกลามไปยังปอด
เมื่อมีการแพร่กระจายลุกลามไปยังอวัยวะใกล้เคียง (ระยะที่ 4) ส่งผลทำให้เกิดการทำหน้าที่ของอวัยวะนั้นผิดปกติ เช่น ลุกลามไปยังตับ
ส่งผลให้เกิดการสังเคราะห์โปรตีนalbuminลดลง เลือดออกหยุดยาก บวม ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เป็นต้น
albumin : 2.8 g/dL
pitting edema : 1-3+
coagulation time : normal
CT : พบก้อนเนื้อที่ปอดล่างข้างซ้ายขนาด 7 mm ไม่สามารถวินิฉัยได้
CT : พบก้องเนื้อที่ตับบริเวณ hepatic segment 5และ8 2 ก้อน ขนาด 1 cm และ 6 cm