Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรถ์ G2P1001 Last 4ปี GA39+2 wks., ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล,…
หญิงตั้งครรถ์ G2P1001 Last 4ปี GA39+2 wks.
2.อาการสำคัญ
มาฝากครรภ์ตามนัด ครั้งที่ 9 (23/03/65)
7.ประวัติการได้รับวัคซีน
วัคซีนป้องกันบาดทะยักเข็มกระตุ้นเมื่อปี 2565 วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (20/10/64)
4.การตั้งครรภ์การคลอดในอดีต
ไม่เคยแท้ง ปฏิเสธโรคปรคประจำตัว ครรภ์แรกคลอดแบบธรรมชาติ 3200 gm. อายุ4ปี
ประวัติสุขภาพครอบครัว
มารดาเป็นเบาหวาน
11.การเชื่อมโยงทฤษฎีกับเคสกรณี
1.แนวคิดการดูแลมารดาทารกแบบองค์ รวม (holistic nursing care) มีการดูแล กรณีศึกษาทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ คือการให้บริการการ ตรวจร่างกายของมารดาและทารกใน ครรภ์เพื่อตรวจหาความผิดปกติ และดูแล ทางด้านจิตใจคัดกรองภาวะซึมเศร้า ภาวะเครียด ดูแลให้มารดาได้รับบริการ ที่ดีที่สุดเพื่อมารดาและทารกในครรภ์
2.แนวคิดการดูแลรูปแบบผดุงครรภ์ (midwifery model of care) มีการเฝ้าระวัง คัดกรองภาวะเสี่ยงทาง สุขภาพทั้งด้านร่างกายจิตสังคมของ มารดาและทารกในครรภ์ มีการให้ข้อมูล คำแนะนำปรึกษาอาการต่างๆที่มารดาไม่ สบายใจ เช่น อาการปวดหลัง จึงได้ แนะนำวิธีการออกกกำลังกายเพื่อลด อาการปวดหลัง
8.การประเมินภาวะโภชนาการ
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 83 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI 30.42 มีภาวะอ้วน น้ำหนักปัจจุบัน 92 กิโลกรัม
9.การตรวจร่างกาย การตรวจครรภ์ และบันทึกผลตรวจ
Fundal grip พบ High of fundus 3/4 > ระดับสะดือ สูง 29 เซนติเมตร,Umbilical grip พบ Large part อยู่ทางด้านขวา Small part อยู่ทางด้านซ้าย, Pawlik’s grip พบ vertex presentation, Bilateral inguinal grip พบ head float, FHS = 142 bpm, ไม่มีภาวะซีด คลำไม่พบต่อมไทรอยด์โต
6.การตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการ
Hct 39.6 % , Hb 12.8 g/dL , MCV 89.1, MCH 28.8, Anti-HIV Negative , VDRL Negative , HBsAg Negative , Blood gr. O, Rh Positive ,Urine Abl/Sugar negative
10.การรักษาและการให้คำแนะนำ
ตรวจระดับน้ำตาลGCT 50 mg. แนะนำการควบคุมน้ำหนัก
1.ข้อมูลส่วนบุคคล
นางสาว วิชุดา ศรีกันหา อายุ 27 ปี สถานภาพสมรส : คู่ เชื้อชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา :พุทธ การศึกษา : ปวส. อาชีพ : ไม่ได้ประกอบอาชีพ รายได้ครอบครัว 15,000 บาท/เดือน ที่อยู่ปัจจุบัน : 29 หมู่ 6 ตำบล ภูคำ อำเภอ ซำสูง จังหวัด ขอนแก่น สิทธิการรักษา : ประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3.ประวัติการเจ็บป่วย/การตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
หญิงตั้งครรภ์ครั้งที่2 มาฝากครรภ์ครั้งที่9 GA39+2 wks.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 เสี่ยงต่อภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมารดาเป็นโรคเบาหวาน
ข้อมูลสนับสนุน O: น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 83 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI 30.42 น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ควรเพิ่มขึ้นประมาณ 7-11 กิโลกรัม น้ำหนักปัจจุบัน 92 กิโลกรัม O: GA36+4 EFW=2723 gm. O: มารดาเป็นเบาหวาน O: น้ำหนักเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน 4.4 กิโลกรัม
วัตถุประสงค์ เพื่อคัดกรองเบาหวานขณะตั้งครรภ์
เกณฑ์การประเมิน 1.ตรวจGCT ระดับกลูโคสอยู่ที่ 100-140 mg% 2.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการเรื่องเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การพยาบาล 1. GCT กลืนน้ำตาล 50 mg เพื่อคัดกรองเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2. แนะนำให้ลดอาหารที่มีรสหวาน เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด 3. น้ำหนักเพิ่มขึ้นไม่เกิน 0.3 กิโลกรัม/สัปดาห์ ขณะตั้งครรภ์ 4. ออกกำลังกายพอประมาณ ไม่หักโหม เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด 5. แนะนำการมาตรวจครรภ์ตานัด เพื่อประเมินภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 6.ให้ความรู้เรื่องเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มความรู้เรื่องโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การประเมินผล 1. มารดาสามารถบอกปัจจัยเสี่ยงที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ได้ 2. GCT 116 mg%
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 ไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ข้อมูลสนับสนุน S : มารดาบอกว่า “มีอาการปวดหลังบ้างบางครั้ง” O : หญิงตั้งครรภ์ G2P1001 GA 39+2 wk. อยู่ในไตรมาสที่ 3 ระดับยอดมดลูก 3/4 > ระดับสะดือ
วัตถุประสงค์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีอาการปวดหลังลดลง
เกณฑ์การประเมิน 1.หญิงตั้งครรภ์อธิบายวิธีการบรรเทาความปวดได้อย่าง 2-3 ข้อ
กิจกรรมการพยาบาล 1.แนะนำให้มารดามีการออกกำลังกายในท่านั่งขัดสมาธิและใช้กางเกงในแบบ Support หน้าท้อง 2.แนะนำให้มารดามีการหลีกเลี่ยงการทำงานหนักขณะทำงานไม่ควรก้มหรือเอียงในท่าที่ทำให้กล้ามเนื้อตึงตัวมากนาน ๆ และควรให้นอนทำตะแคง 3.แนะนำให้มารดา ควรยืน / นั่งในท่าหลังตรงไม่ควรก้มหยิบของในที่ต่ำแนะนำให้ย่อตัวท่าลงนั่งยองก่อนหยิบและควบคุมอย่าให้น้ำหนักเพิ่มมากไป 4.แนะนำให้มารดาใส่รองเท้าส้นเตี้ยหรือส้นสูงไม่เกิน 1 นิ้วและไม่ควรนอนในที่นอนนุ่มมาก 5.ถ้ามีอาการปวดมากให้นวดหลังได้หรือถ้าอาการปวดมันยังไม่หาย แนะนำให้ไปพบแพทย์เพื่อนำยารับประทาน
การประเมินผล1.หญิงตั้งครรภ์อธิบายวิธีการบรรเทาความปวดได้อย่าง 2 ข้อ คือ ไม่ให้ทำงานหนักเกินไป หากมีการจำเป็นต้องก้ม ให้นั่งยองๆ เพื่อเป็นการลดอาการปวด และหากอาการไม่หายแนะนำให้ไปพบแพทย์
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 ส่งเสริมการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ในไตมาสที่ 3
ข้อมูลสนับสนุน O: หญิงตั้งครรภ์ G2P1001 GA 39+2 wk. อยู่ในไตรมาสที่ 3 ระดับยอดมดลูก 3/4 > ระดับสะดือ
วัตถุประสงค์ หญิงตั้งครรภ์เข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
เกณฑ์ประเมินผล หญิงตั้งครรภ์เข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล 1. แนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร ควรเพิ่มอาหารประเภทโปรตีน เพื่อสร้างกล้ามเนื้อแก่ร่างกาย 2.แนะนำเกี่ยวกับการไม่กลั้นปัสสาวะ เพราะอาจเกิดกระเพาะปัสสาวะอักเสบได้ 3. แนะนำเกี่ยวกับการมาฝากครรภ์ เพราะเป็นไตรมาสสุดท้ายอาจมีภาวะครรภ์เป็นพิษได้ 4. แนะนำการดูแลเต้านมไม่ควรฟอกสบู่ บริเวณหัวนมมากเพราะอาจทำให้ หัวนมแห้งและแตกได้ 5. บอกถึงอาการที่ควรมาพบแพทย์- อาการท้องแข็งทุก5 -10นาที- มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด- มีน้ำเดิน (คล้ายปัสสาวะไม่มีกลิ่น)
การประเมินผล หญิงตั้งครรภ์มีความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลและคำแนะนำที่ให้ไป สามารถบอกได้ส่าควรปฏิบัติตัวอย่างได้จึงจะเหมาะสม และสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นและหากมีอาการผิดปกติจะรีบมาพบแพทย์
นายธีรยุทธ คนขำ
รหัสนักศึกษา62128301033