Non reassuring Fetal heart rate
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
พยาธิสภาพ
ข้อมูลทั่วไป
Definition
ทารกในครรภ์มีภาวะคับขัน (fetal distress) หมายถึง ภาวะที่ทารกในครรภ์ได้รับออกวิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการ ทำให้ทารกแสดงอาการหัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่าเกณฑ์ที่กำหนดหรือค่าพื้นฐาน (baseline) ของอัตราการเต้นของหัวใจทารกร่วมกับทารกมีการถ่ายขี้เทา หรือทารกที่อยู่ในภาวะที่แพทย์ไม่มั่นใจในความ ปลอดภัยของทารก (non-reassuring fetal status) และถ้าไม่ให้คลอดโดยเร็วทารกน่าจะได้รับอันตราย
สาเหตุ
อาการและอาการแสดง
การรักษา
ทฤษฎี
ผู้คลอด
- ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปยังรกไม่เพียงพอ (uteroplacental insufficiency) หมายถึง ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปยังรกไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ทารกได้รับออกซิเจนลดน้อยลงด้วย
ผู้คลอดมีโรคประจำตัวเป็นธาลัสซีเมีย
ชนิด Hb E trait ตั้งแต่อายุ 11 ปี
ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปยังรกไม่เพียงพอเฉียบพลัน เช่นมดลูกมีการหดรัดตัวมากเกินไป รกเกาะต่ำ
ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปยังรกไม่เพียงพอเรื้อรัง เช่น โรคเบาหงาน โรคโลหิตจาง ภาวะทุพโภชนาการ การตั้งครรภ์เกินกำหนด
- ภาวะผิดปกติของสายสะดือ ได้แก่ สายสะดือถูกกด (cord compression) การผูกเป็นปม
ของสายสะดือ (true knot ) ภาวะที่สายสะดือย้อย (prolapsed cord)
- อัตราการเต้นของหัวใจทารในครรภ์ผิดปกติ ลักษณะการเต้นของหัวใจทารกที่แสดงถึงภาวะขาดออกซิเจน คือ late deceleation และ variable deceleation
- จากการ On NST พบ minimal variability และ Late deceleration
- เวลา 21.45 น. MR- Mild meconium และ FHS drop อยู่ระหว่าง 70-110 bpm แพทย์มี Order เพิ่มให้โหลด IV 500 ml ใน 15 นาที ต่อมาเวลา 22.10 น. หลังให้ โหลด IV 500 ml FHS ยังคง drop 100-130 bpm
- ทารกดิ้นมากกว่า 10 ครั้ง
- ภาวะมีขี้เทาปนเปื้อนในน้ำคร่ำ (meconium staining of anmiotic fluid) มี 3 ลักษณะ ได้แก่
- น้ำคร่ำมีสีเขียวหรือเหลืองจางๆ (mild meconium stained)
- น้ำคร่ำสีเขียวปนเหลือง (moderate meconium stained)
- น้ำคร่ำมีสีเขียวข้นเหนียว ขุ่น และมีสารขี้เทาจำนวนมาก (thick meconium stained)
- การเคลื่อนไหวของทารกลดลง
- เลือดของทารกแสดงความเป็นกรด ถ้าได้มีการวิเคราะห์เลือดในทารกที่ขาดออกซิเจน โดยการเจาะเลือดจากหนังศีรษะของทารก (fetal scalp blood sampling) มาตรวจ ค่าที่ได้จะน้อยกว่า 7.2
- จัดท่าผู้คลอด โดยทั่วไปนิยมให้ผู้คลอดนอนในท่านอนตะแคงซ้าย
1.จัดท่าผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย
2.ทำการตรวจภายในทุก 30 นาที
3.BP 116/74 mmHg (26/3/65 เวลา 17.00 น.)
4.On O2 cannula 5 LPM
5.ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกทุก 30 นาที
6.ตามกุมารแพทย์และวิสัญญีแพทย์ในกรณีที่อาจต้องทำการผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน
7.Cesarean section (F/E) due to Non reassuring Fetal heart rate
- ให้ออกซิเจนแก่ผู้คลอดในอัตรา 8-10 ลิตร/นาที
- วัด BP ในผู้คลอด เพื่อประเมินว่ามีความดันโลหิตต่ำหรือไม่ ถ้าพบ BP ต่ำ ให้สารน้ำทางกระแสเลือดในรูปของสารละลาย 0.9 % NSS หรือ ringer lactate
- ทำการตรวจภายใน เพื่อประเมินการเปิดขยายของปากมดลูกและตรวจว่ามีภาวะสายสะดือย้อยหรือไม่
- แก้ไขเมื่อมีภาวะการหดรัดตัวของมดลูกมากเกินไป โดยการยุติการให้ยา oxytocin หรือถ้าไม่ดีขึ้นอาจพิจารณาให้ฉีด terbutaline (bricanyl) 0.25 มิลลิกรัม ทางชั้นใต้ผิวหนัง
- ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกตลอดเวลา
- ตามกุมารแพทย์และวิสัญญีแพทย์ในกรณีที่อาจต้องทำการผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน
ถ้าทำการแก้ไขด้วยวิธีดังกล่าวข้างต้นแล้ว
การเต้นของหัวใจทารกยังมีลักษณะผิดปกติ
อย่างต่อเนื่องอยู่ ควรทำการคลอดทารกภายใน 30 นาที
- ทารกเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงรกและมดลูกไม่เพียงพอ
3 ผู้คลอดวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ เนื่องจากขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์
- ผู้คลอดเสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก (hypovolemic shock) ในระหว่างการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง เนื่องจากมีภาวะซีด
ข้อมูลสนับสนุน
SD : -
OD :
- มารดามีโรคประจำตัวเป็นธาลัสซีเมีย
ชนิด Hb E trait - MR- Mild meconium
- เวลา 21.45 น. MR- Mild meconium และ FHS drop อยู่ระหว่าง 70-110 bpm แพทย์มี Order เพิ่มให้โหลด IV 500 ml ใน 15 นาที ต่อมาเวลา 22.10 น. หลังให้ โหลด IV 500 ml FHS ยังคง drop 100-130 bpm
- จากการ On NST พบ minimal variability และ Late deceleration
ข้อมูลสนับสนุน
SD : -
OD :
1.ผู้คลอดมีโรคประจำตัวเป็นธาลัสซีเมีย ชนิด
Hb E ตั้งแต่อายุ 11 ปี
2.ตรวจร่างกายพบ เยื่อบุตาซีด
- ผลการตรวจ Complete Blood Count (26/3/65)
- Hemoglobin 8.8 g/dL
- MCV 57.8 fL
- เม็ดเลือดแดงพบลักษณะผิดปกติ
กืจกรรมทางการพยาบาล
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง รวมทั้งประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ hypovolemic shock ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัว ที่เปลี่ยนแปลง อาการกระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ถ้าชีพจรมากกว่า 120 ครั้ง/นาที หายใจมากกว่า 30 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต <90/60 มิลลิเมตรปรอท หายใจมากกว่า 24 ครั้ง/นาที รายงานแพทย์ทราบ เพื่อให้การรักษาทันที และให้ออกซิเจน 5 ลิตรต่อนาทีตามแผนการรักษา
- ประเมินการกระจายเลือดสู่เซลล์ทั่วร่างกายและความสามารถในการนำออกซิเจนในเลือด โดยการ ประเมินการไหลเวียนเลือดส่วนปลาย สภาพเยื่อบุต่างๆ อาการซีดหรือเขียว วัดค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในหลอดเลือดแดง
- ให้นอนพักผ่อนบนเตียง ศีรษะสูงเพื่อช่วยให้กระบังลมไม่ถูกเบียด หายใจได้สะดวก และช่วยเหลือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ป่วยให้พักผ่อนลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษาคือ งดน้ำและอาหารทางปาก และ RLS 1000 ml IV drip rate 100 ml/hr เพื่อให้ได้องค์ประกอบของการสร้างเม็ดเลือดอย่างมีประสิทธิภาพ
- เตรียมเลือดตามแผนการรักษาคือ PRC 1 Unit
- ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ Hemoglobin
ข้อมูลสนับสนุน
SD : -
OD : ผู้คลอดมีสีหน้าวิตกกังวล และขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์
กิจกรรมทางการพยาบาล
- สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้คลอดและครอบครัวด้วยความเป็นมิตรและนุ่มนวล เพื่อให้ผู้คลอดเกิดความไว้วางใจและรู้สึกอบอุ่น
- เปิดโอกาสให้ผู้คลอดได้ระบายความรู้สึกหรือความคับข้องใจ
- รับฟังการระบายความรู้สึกของผู้คลอดและครอบครัวด้วยท่าทางสนใจ และเต็มใจให้การช่วยเหลือหรือตอบข้อสงสัย
- อธิบายสภาวะที่เป็นอยู่ของทารกให้ผู้คลอดทราบเกี่ยวกับการที่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน(fetal distress) แผนการรักษา การพยาบาลต่างๆที่ได้รับ เพื่อให้ผู้คลอดมีความเข้าใจและลดความวิตกกังวล พร้อมทั้งสร้างความมั่นใจให้กับผู้คลอดรู้สึกว่าได้รับความปลอดภัยทั้งต่อผู้คลอดและทารกในครรภ์ โดยมีทีมบุคลากรพร้อมให้การดูแลและช่วยเหลือผู้คลอดและทารกในครรภ์ตลอดเวลา เพื่อให้ผู้คลอดเกิดความมั่นใจในการรักษา รวมทั้งอยู่เป็นเพื่อนผู้คลอดขณะแพทย์ทำหัตถการ
กิจกรรมทางการพยาบาล
- สังเกตและบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 30 นาที โดยฟังเมื่อมดลูกคลายตัวแล้วประมาณ 20-30 วินาที หรือติดตั้งเครื่องบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกอย่างต่อเนื่อง
- ดูแลให้ผู้คลอดได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา คือ RLS 1000 ml IV drip rate 100 ml/hr
เลือด 3. จัดให้ผู้คลอดนอนตะแคงข้าง และให้ออกชิเจน 5 ลิตรต่อนาทีตามแผนการรักษา - ตรวจภายในทางช่องคลอด เพื่อประเมินภาวะสายสะดือย้อย
- ประเมินและบันทึกสี กลิ่นของน้ำคร่ำ เมื่อถุงน้ำคร่ำแตก
- เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำคลอด อาจต้องช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
- เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
- ภายหลังทารกคลอด ดูแลให้ทารกหายใจสะดวกทันที
- ดูแลการป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายทารกภายหลังคลอด
- ประเมินสภาพทารกแรกเกิดทันทีตามขั้นตอน
- รายงานกุมารแพทย์ทราบเพื่อช่วยเหลือทารกแรกเกิด และเตรียมอุปกรณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพทารกให้พร้อม
นศพต.สมสิริ ขวัญส่ง เลขที่ 61
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 21 ปี G1P0-0-0-0 อายุครรภ์ 39+6 wks by date
อาการแรกรับ
ตรวจร่างกายพบว่า น้ำหนักปัจจุบัน 57.1 กิโลกรัม
ผลตรวจ Urine (26/3/65) Ketone = Trace Glucose = Negative Albumin = Negative
HBs Ag : Negative
VDRL (RPR) : Non-reactive
Anti-HIV :Negative
Hb E Screening(DCIP): Negative
ผลตรวจครรภ์ High Fundal ¾ above umbilicus , Vertex, Head Engagement, OL, FHS 150 bpm
ผลตรวจทางช่องคลอด PV – Cx.dilatation 2 cm, Effacement 75 %, Station -1, Membrane intact
ผลตรวจการหดรัดตัวของมดลูก : Interval 5’ , Duration 30’’ , Intensity ++
ผลการตรวจ Ultrasound : EFW (Estimated Fetal Weight) 3000 gm
อาการสำคัญที่มารพ. : ปวดท้อง เจ็บครรภ์ 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยของตนเอง : มีโรคประจำตัว เป็นโรคธาลัสซีเมีย (thalassemia) ตั้งแต่อายุ 11 ปี
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต : ปฏิเสธ เนื่องจาก G1P0-0-0-0
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน : 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเจ็บครรภ์ทุกๆ 3 นาที นานครั้งละ 30 วินาที มีมูกเลือดออกมาจากช่องคลอด ไม่มีน้ำใสไหลจากช่องคลอด ไม่มีปัสสาวะแสบขัด ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีปวดศีรษะ ไม่มีตาพร่ามัว ลูกดิ้นดี > 10 ครั้ง
ซักประวัติ : พบว่า น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 51 กิโลกรัม ส่วนสูง 157 เซนติเมตร BMI 20.9 kg/m2
ผลตรวจร่างกาย พบเยื่อบุตาซีด (26/3/65)
LAB 26/3/65
Hemoglobin 8.8 g/dL
Hematocrit 32.1 %
MCV 57.8 fL
MCH 15.9 pg
MCHC 27.4 g/dL
Microcyte 3+
Hypochromia 2+
Anisocytosis 2+
Poikilocytosis 3+
Target cell Few
Schistocyte 1+
Ovalocyte Few
Tear drop Few
Polychromasia 1+
การวินิจฉัย
Category I
เป็นกลุ่ม FHR ปกติ สัมพันธ์กับสภาวะกรดด่างที่ปกติ ซึ่งมีครบทุกลักษณะดังต่อไปนี้
- Baseline rate: 110–160 beats per minute (bpm)
- Baseline FHR variability: moderate
- Late or variable decelerations: absent
- Early decelerations: present or absent
- Accelerations: present or absent
Category II
เป็นกลุ่ม FHR ก้ำกึ่ง (intermediate) ทำนายสภาวะกรดด่างได้ไม่ดีนัก ประกอบด้วยลักษณะที่ไม่เข้ากับกลุ่มที่ I และกลุ่มที่ III เช่นมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
- Baseline rate : Bradycardia not accompanied by absent baseline variability หรือ Tachycardia
- Baseline FHR variability
- Accelerations :Absence of induced accelerations after fetal stimulation
- Periodic or episodic decelerations
Category III
เป็นกลุ่ม FHR ผิดปกติ สัมพันธ์กับสภาวะกรดด่างที่ผิดปกติ ต้องการการแก้ไขโดยรีบด่วน ซึ่งประกอบด้วยลักษณะข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
Absent baseline FHR variability and any of the following :
- Recurrent late decelerations
- Recurrent variable decelerations
- Bradycardia
- Sinusoidal pattern
Category II
- พบ MR- Mild meconium
- FHS drop อยู่ระหว่าง 70-110 bpm
- จากการ On NST พบ minimal variability และ Late deceleration