Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิต และการดูแลสุขภาพจิต และแนวคิดพื้นฐานด้า…
บทที่1
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิต
และการดูแลสุขภาพจิต
และแนวคิดพื้นฐานด้านพฤติกรรมมนุษย
สุขภาพ
คือ สภาวะที่สมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขและมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพเท่านั้น
สรุปได้ว่า
สุขภาพ
คือ
สุขภาวะ
ที่สมบูรณ์เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญา มีความสัมพันธ์เชิงพลวัตกับปัจจัยต่าง ๆ คือด้านปัจเจกบุคคล ด้านสภาพแวดล้อม ด้านระบบกลไกซึ่ง รวมถึงระบบบริการสุขภาพ
สุขภาพจิต (Mental Health)
หมายถึง ภาวะจิตใจที่เป็นสุข สามารถปรับตัวแก้ปัญหา สร้างสรรค์ทำงาน ได้ มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความมั่นคงทางจิตใจ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ อยู่ในสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงได
มิติสุขภาพมีทั้งหมด 4 มิติ
สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางร่างกาย (Physical Wellbeing)
สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางจิตใจ (Mental Wellbeing)
สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางสังคม (Social Wellbeing)
สุขภาวะทางจิตวิญาณหรือปัญญา (Spiritual or Wisdom Wellbeing)
ความหมายของพฤติกรรม
ลาเฮย์ (Lahey, 2004 )
กล่าวว่า พฤติกรรมเป็นการกระทำของบุคคลที่สามารถสังเกตได้ และการกระทำที่สามารถวัดได้
เฟลด์แมน (Feldman, 2011)
อธิบายว่า พฤติกรรม คือการกระทำที่แสดงออกโดยสังเกตและประเมินได้จากความสามารถในการคิด (thoughts)อารมณ์ (emotions) การรับรู้ (perceptions)กระบวนการให้เหตุผล (reasoning processes) การจำ (memories) และกระบวนการและโครงสร้างการทำงานของระบบชีววิทยาในร่างกาย
ธัญญภัสร์ ศิรธัชนราโรจน์ (2559)
กล่าวว่า พฤติกรรม คือการกระทำของบุคคลในทุกลักษณะทั้งที่เป็นโดยธรรมชาติทางสรีระและที่จงใจกระทำ การกระทำที่ทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัว เป็นการกระทำที่สังเกตประเมินหรือวัดได้ โดยใช้ประสาทสัมผัสธรรมดาหรือใช้เครื่องมือช่วยในการสังเกต เช่น การคิด อารมณ์ใช้เหตุผล การรับรู้ การจำ รวมไปถึงกระบวนการและครงสร้างการทำงานของระบบ
กลุ่มจิตวิทยาเพื่อความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์
3.กลุ่มจิตวิทยาจิตวิเคราะห์
4.ลุ่มจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม
2.กลุ่มจิตวิทยาหน้าที่นิยม
5.กลุ่มจิตวิทยาเกสตัลท์
1.กลุ่มจิตวิทยาโครงสร้างนิยม
6.กลุ่มจิตวิทยามนุษยนิยม
ประเภทพฤติกรรม
เกณฑ์ด้านภาวะทางจิตของบุคคละพฤติกรรมที่กระทำโดยรู้ตัว (Conscious) และพฤติกรรมที่กรทำโดยไม่รู้ตัว (Unconscious)
เกณฑ์ด้านการแสดงออกของอินทรีย์ะพฤติกรรมทางกาย (Physical activity)และพฤติกรรมทางจิต (Psychological activity)
เกณฑ์ด้านแหล่งกำเนิดพฤติกรรมพฤติกรรมวุฒิภาวะ (Maturity) มีธรรมชาติเป็นตัวกำหนดและพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้(Learned) ซึ่งเป็นผลมาจากการได้รับประสบการณ์และการฝึกฝน
เกณฑ์ด้านการทำงานของระบบประสาทะพฤติกรรมที่ควบคุมได้ (Voluntary) และพฤติกรรมที่ควบคุมไม่ได้ (Involuntary)
เกณฑ์ในการใช้การสังเกตพฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน
:red_flag:การกระทำทุกอย่างของมนุษย์ทั้งที่ประกฏชัดเจนและไม่ปรากฏชัดเจน ในอันที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในและสิ่งเร้าภายนอก
องค์ประกอบของพฤติกรรม
การรับรู้(Perception)
การเรียนรู้(Learning)
การคิด (Thinking)
สติปัญญา (Intelligence)
เจตคติ(Attitude)
อารมณ์(Emotion)
ความเชื่อ (Beliefs)
นางสาวราชิยา อักษรทอง
เลขที่49