Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 วิวัฒนาการ ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 1 วิวัฒนาการ ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลจิตเวช
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ในต่างประเทศ :
3. ยุคกลางหรือยุคมืด
เป็นระยะเริ่มแรกของยุคคริสเตียน ความเชื่อด้านจิตเวชกลับมาเชื่อ
เรื่องไสยศาสตร์เหมือนยุคดึกดำบรรพ์อีก มีการทรมานผู้ป่วยด้วยวิธีต่างๆ
4. ยุคก่อนจิตเวชสมัยใหม่
ศตวรรษที่ 17-18 เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของการแพทย์ปัจจุบันและ
พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ เริ่มมีโรงพยาบาลจิตเวช แต่วิธีการรักษายังใช้การกักขังไม่ให้ติดต่อกับใคร
2. ยุควัฒนธรรมกรีกและโรมัน
ระยะที่กรีกเจริญรุ่งเรือง ความเชื่อในเรื่องการเจ็บป่วยทางจิตและ
การดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชเปลี่ยนแปลงไปหันไปยึดหลักธรรมชาติ
5. ยุคต้นของจิตเวชสมัยใหม่
เบนจามิน รัช ปี 1745-181
บิดาแห่งจิตเวชของสหรัฐอเมริกา เขียนหนังสือเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิตเป็นเล่มแรกเริ่มรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล ปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างมีมนุษยธรรม ให้ผู้ป่วยทำงานเพื่อการรักษา
1.ยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคดึกดำบรรพ์
การรักษาทำโดยพระหรือหมอผี ใช้วิธีรดน้ำมนต์ ปัดเป่า กักขัง
เฆี่ยนตี ลงโทษ ทรมาน ขับไล่ผี
6. จิตเวชสมัยใหม่
ประมาณปลายศตวรรษที่ 19-20 มีการแสวงหาความรู้ด้วยระเบียบวิธีทาง
วิทยาศาสตร์ พัฒนาแนวคิดทฤษฎีทางจิตสังคม
วิวัฒนาการของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในต่างประเทศ
เริ่มตั้งแต่สมัย Florence Nightingale ปี1939 มีการ
มองผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมประกอบด้วยร่างกาย และจิตวิญญาณไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ผู้ป่วยเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวและชุมชนซึ่งถือว่าเป็นศูนย์กลางของการพยาบาล
ปี 1913 Effie Taylor บรรจุวิชาการพยาบาลจิตเวชไว้ใน
หลักสูตรการพยาบาล มหาวิทยาลัย John Hopkins โดยการบูรณาการมโนทัศน์การพยาบาลทั่วไปและการพยาบาลสุขภาพจิตเข้าด้วยกันไม่สามารถแยกจากกันได้
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ในประเทศไทย
2. ยุคโรงพยาบาลจิตเวชแผนใหม่ ปีพศ. 2468-2484หลวงวิเชียรแพทยาคมเป็นผู้อำนวยการคนแรก เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลเป็น โรงพยาบาลโรคจิตธนบุรี
1. ยุคดั้งเดิม ปี พศ. 2432 -2467 สร้างโรงพยาบาลคนเสียจริตแห่งแรกที่ปากคลองสาน ปัจจุบันคือสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ให้การรักษาอย่างมีเมตตา
3. ยุคของงานสุขภาพจิต ปี พศ.2485-2503ริเริ่มงานส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เพื่อลดจำนวนผู้ป่วย
4.ยุคแรกเริ่มงานสุขภาพจิตชุมชน ปี พศ. 2504-2514 มีโรงพยาบาลกลางวัน
5. ยุคของการผสมผสานงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบบริการ
สาธารณสุข ปี พศ.2515-2524 ให้ความสำคัญกับงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
6. ยุคของการสาธารณสุขมูลฐาน ปี พศ. 2525-2534เป้าหมายให้ประชากรทั่วโลกมีสุขภาพดี
7. ยุคของงานส่งเสริมป้องกัน ปีพศ. 2535-ปัจจุบัน
ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่ 7 สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 ลดการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
วิวัฒนาการของการพยาบาลจิตเวชในประเทศไทย
3.ปี พศ.2508 เปิดหลักสูตรวิชาการพยาบาลจิตเวชสำหรับครูพยาบาล
4.ปี พศ.2509 อบรมหลักสูตรวิชาการพยาบาลจิตเวช 1ปี ปัจจุบันอบรม 4 เดือน
2.ปี พศ.2497 มีการฝึกปฏิบัติวิชาจิตเวชในโรงพยาบาลจิตเวช
5. ปี พศ.2533 หลักสูตรปริญญาโทสาขาการพยาบาลสุขภาพจิต
1.ปี พศ.2487 มีการสอนวิชาจิตเวชในโรงเรียนพยาบาล
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในปัจจุบัน
มีการพัฒนาทั้งด้านการศึกษาและการบริการ
มีหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
ประเด็นที่เกี่ยวข้องการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย
โครงสร้างประชากรมีผู้สูงอายุมากขึ้น และครอบครัวมีขนาด
เล็กลง แนวโน้มต่อไปจะเป็นครอบครัวเดี่ยวหรืออยู่คนเดียว
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 11 มุ่งสู่สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุข
การบริการสุขภาพเน้นคุณภาพการดูแลและความปลอดภัยของ
ผู้ป่วยมากขึ้น
แนวโน้มการพยาบาลจิตเวชในประเทศไทย
ผู้รับบริการมาจากหลากหลายวัฒนธรรม หลายศาสนา ต้อง
พัฒนาความรู้ในการให้บริการข้ามวัฒนธรรม
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กเพิ่มขึ้น
การขาดแคลนบุคลากรทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ประเด็นการเพิ่มคุณภาพการดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย