Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 แนวคิดการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 1
แนวคิดการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการวิจัย
การดำเนินการวิจัย
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย
คัดเลือกผู้ปฏิบัติงาน
เตรียมงานสนาม
การฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานสนาม
การสุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
สถิติบรรยาย/พรรณนา
สถิติอ้างอิง/อนุมาน
การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การสร้างเครื่องมือวิจัย
การรายงานและนำผลการวิจัยไปใช้
การจัดทำรายงานผลการวิจัย
การสรุปและเสนอแนะ
การอภิปรายผลการวิจัย
การเขียนบทคัดย่อ
การเสนอผลการวิจัย
การนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์
การเตรียมการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
เพื่อยืนยันหรือเปรียบเทียบผล
กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
สอดคล้องกับประเด็นปัญหาสำหรับการวิจัย
มีวิธีการดำเนินงานที่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้
ภายในระยะเวลาการดำเนินโครงการวิจัยที่ได้กำหนดไว้
การกำหนดตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปร = คุณสมบัติหรือคุณลักษณะของสิ่งต่างๆ
ที่ต้องการศึกษา : ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
สมมติฐาน = ข้อความที่คาดคะเนคำตอบของการวิจัยที่จะศึกษา
สมมติฐานการวิจัย
กำหนดไว้ให้สอดคล้องกับปัญหาการวิจัยหรือวัตถุประสงค์
สมมติฐานทางสถิติ
สมมติฐานหลัก
สมมติฐานทางเลือก
กำหนดปัญหา โจทย์ หัวข้อวิจัย
ความสนใจและความสามารถของผู้วิจัย
ความสามารถในการหาคำตอบได้
มีข้อมูลเพียงพอ ความเหมาะสมของเวลา
งบประมาณ แรงงาน และอุปกรณ์
ประโยชน์ของการวิจัย
การวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การกำหนดแนวคิดการวิจัย
กำหนดแผน โครงสร้าง
และกลยุทธ์ที่จะใช้ในการศึกษาวิจัย
การจัดทำโครงการวิจัย
ชื่อเรื่องที่จะวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
สมมติฐานการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
นิยามศัพท์
ระเบียบวิธีวิจัย
เครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ระยะเวลาการดำเนินการวิจัย
แผนการดำเนินการ
สถานที่ทำการวิจัย
ทรัพยากรและงบประมาณที่ต้องการ
ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ
ประวัติคณะวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ความสมบูรณ์
ความกะทัดรัด
ความชัดเจน
ความสม่ำเสมอ
ความมีเหตุผลมั่นคง
ความแม่นยำ
ความสัมพันธ์เชื่อมโยง
แนวทางการประเมินโครงการวิจัย
ความครบถ้วนสมบูรณ์
ความชัดเจน ความต่อเนื่อง และความกระชับ
ความสามารถในการดำเนินการวิจัย
ความมีประสิทธิภาพของการดำเนินการวิจัย
การตอบสนองความต้องการของแหล่งเงินทุน
ความหมาย ความสำคัญ ประเภท
ความสำคัญ
ต่อการพัฒนาช่องทางการสื่อสารเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
ต่อการพัฒนาองค์ความรู้
ต่อนักส่งเสริม
ต่องานด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ต่อบุคคลเป้าหมายหรือกลุ่มเป้าหมาย
ต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภท
เชิงคุณภาพ
เชิงผสมผสาน
เชิงปริมาณ
เชิงประเมิน
ความหมาย
หมายถึง การศึกษาค้นคว้าในมิติต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร ทั้งองค์ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย กระบวนการผลิต การถ่ายทอดเทคโนโลยี
เพื่อนำผลไปใช้ในการนำการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
มีความสำคัญต่อบุคคลเป้าหมาย
นักส่งเสริมพัฒนาการสื่อสารเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
การพัฒนาองค์ความรู้ งานด้านส่งเสริมและการบริหารฯ
ลักษณะการวิจัย
เชิงศึกษาเฉพาะกรณี
เชิงปฏิบัติการ
เชิงสำรวจ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการกษตร
เป็นการศึกษาข้อเท็จจริงโดยผู้วิจัยสามารถศึกษาได้จากบุคคลรอบข้าง
เรียนรู้ประสบการณ์รอง หรือเรียนรู้ด้วยตัวเอง
การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตร
เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการเกษตร
การวิจัยภูมิปัญญา
งานวิจัยเพื่อพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
งานวิจัยเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
การวิจัยการตลาดและอุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร
การวิจัยเพื่อถ่ายทอดวิทยาการ
เป็นการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอยางถี่ถ้วนตามหลักวิชาการในการกระจาย
การเผยแพร่ การสอนหรือส่งผ่านต่อความรู้ไปยังบุคคลเป้าหมาย
ขอบเขต
ในส่วนนักส่งเสริม
เกษตรกร
วิทยากร
สื่อ
ช่องทางการถ่ายทอด
การรับรู้และการเรียนรู้ของเกษตรกร
สิ่งรบกวนการถ่ายทอดวิทยาการเป็นขอบเขตที่ศึกษา
กระบวนการจัดการความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ด้านการประเมินผล
การวิจัยเพื่อพัฒนาบุคคลที่เกี่ยวข้อง
กับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การดำเนินการใดๆ
อันทำให้ผู้ประกอบอาชีพทางการเกษตรมีความเจริญรุ่งเรือง
ก้าวหน้า ทั้งเกษตรกร ครอบครัว ชุมชน
การวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับสภาพพื้นฐานของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาและความต้องการของเกษตรกร
การรวมกลุ่มของเกษตรกร
ภาวะผู้นำของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมและการวางตัวของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
การพัมนาและการช่วยเหลือตนเองของเกษตรกร
การวิจัยเพื่อพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดำเนินการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
องค์ประกอบ
ผู้วิจัย
ผลลัพธ์ของงานวิจัย
โจทย์วิจัย R2R
การนำผลการวิจัยไปใช้
ลักษณะ
หัวข้อและปัญหาของการวิจัยมาจากงานประจำของผู้วิจัย
ดำเนินการโดยใช้วิธีการตามระเบียบวิจัย
ผลของการศึกษาวิจัยที่ได้ เกิดเป็นความรู้ใหม่
สามารถนำผลของการศึกษามาพัฒนางานประจำ
เป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนเองและพัมนางาน
แนวทาง
ค้นหา วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ
หรือแนวทางการพัฒนางาน
กำหนดโจทย์การวิจัย ทีมวิจัย
วางแผน จัดทำโครงการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา
ดำเนินการวิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
นำผลวิจัยไปใช้ในหน่วยงาน เผยแพร่
ติดตาม ประเมินผลงานวิจัย
สรุปผลการแก้ปัญหา
และทบทวนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
ขอบเขต
การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์งาน
เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน
การบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อติดตาม ประเมินผลงาน
และผลการปฏิบัติงาน