Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CPD with PPROM with GDMA1, 3) มารดาเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูก…
CPD with PPROM with GDMA1
ข้อมูลทั่วไป
มารดาอายุ 21 ปี G1P0000 อายุครรภ์ 34 wks + 3 day by U/S
อาการสำคัญ : เจ็บครรภ์ น้ำใสไหลออกจากช่องคลอด 3 ชั่วโมงก่อนมารพ. (3.00 น.)
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
3 ชั่วโมงก่อนมารพ. มีน้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด กลั้นไม่ได้ออกมาชุ่มกางเกง สีใส ไม่มีกลิ่น ลูกดิ้นดี ไม่มีไข้ ไม่มีไอเจ็บคอ ไม่มีเสมหะ ไม่มีเจ็บท้อง ไม่มีท้องเสียถ่ายเหลว ไม่มีปัสสาวะแสบขัด 2 ชั่วโมงก่อนมารพ. เริ่มมีการเจ็บครรภ์ถี่ทุก 2-3 นาที นาน 30 วินาที ร้าวมาที่หน้าขา ลูกดิ้นดีจึงมารพ.
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
G1P0000 อายุครรภ์ 34 wks + 3 day by U/S ฝากครรภ์สม่ำเสมอที่คลินิก 4 ครั้ง
และที่รพ.ตำรวจ 8 ครั้ง LMP : UCD , EDC by U/S 3/5/65
1st ANC 20+2 wk by U/S, 1st U/S GA 20+2 wk by U/S correct GA by U/S
GA 26+2 wk by U/S BS 50 gm =
163
, GA 28+2 wk by U/S 100g OGTT : 97,
180,111
,117 Dx.GDMA1 diet control GA 32+2 wk by U/S OGTT : 88,
193
,134,127 No GDM GA 34+3 wk by U/S confirm Dx.GDMA1
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 78 kg ส่วนสูง 156 cm BMI ก่อนการตั้งครรภ์ 32.47 kg/m2 (Obesity) น้ำหนักปัจจุบัน 85.2 kg ตลอดการตั้งครรภ์น้ำหนักเพิ่มขึ้น 7.2 kg (น้ำหนักเพิ่มตามเกณฑ์)
ได้รับวัคซีนบาดทะยักครบ 3 เข็ม ปี 2563
แรกรับ
(25/3/65)
T = 36.9 องศาเซลเซียส , PR = 90 bpm , RR = 18 bpm , BP = 118/72 mmHg , Pain score = 4 คะแนน , O2 sat = 99 %
ระดับยอดมดลูก ¾ > umbilicus , Vx , HE , Occiput Left , FHS 138 bpm
Interval 2’-3’ Duration 30” Intensity ++
PV : 3 cm , Eff 75% , station 0 , Membrane Absence
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ANC
: HBsAg = Negative , Anti-HIV = Negative , VDRL = non-reactive
25/3/65
WBC 10.20 103/uL สูง (ค่าปกติ 4.24-10.18 103/uL)
Neutrophil 77.2 % สูง (ค่าปกติ 48.2-71.2 %)
Lymphocyte 18.7 % ต่ำ (ค่าปกติ 21.1-42.7 %)
Basophil 0.0 % ต่ำ (ค่าปกติ 0.1-1.2 %)
Glucose (FBS) 107 mg/dL สูง (ค่าปกติ 70.0-99.0 mg/dL)
พยาธิสภาพ
PPROM
ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
(Gestational Diabetes Mellitus : GDM)
ประเภทของ GDM
GDMA1
: หญิงตั้งครรภ์ที่มี OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป แต่ค่าแรกไม่ควรเกิน 95 mg% และ 2 hours pospandial ไม่เกิน 120 mg% รักษาด้วยการควบคุมอาหาร ไม่ต้องใช้อินซูลิน
GDMA2
: หญิงตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์ที่มี OGTT ผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป แต่ค่าแรกไม่ควรเกิน 95 mg% และ 2 hours pospandial ไม่เกิน 120 mg% รักษาด้วยการควบคุมอาหารและอินซูลิน
การคัดกรอง
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ > 30 ปี
BMI > 27 kg/m2
ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
เคยมีประวัติเป็นGDMครรภ์ก่อน
พบน้ำตาลในปัสสาวะ เมื่อมาฝากครรภ์ 2 ครั้งหรือมากกว่า
เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม มีการแท้งบ่อยครั้ง ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ประวัติมีการติดเชื้ออักเสบในช่องคลอดบ่อยๆ
มารดา BMI ก่อนการตั้งครรภ์ 32.47 kg/m2
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก (Polyuria)
ดื่มน้ำมาก (Polydipsia)
รับประทานอาหารจุ (Polyphagia)
น้ำหนักลด (Weight loss)
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย คันตามตัว มีการติดเชื้อง่าย
ผลของการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ภาวะความดันโลหิตสูง
ครรภ์แฝดน้ำ
การติดเชื้อ
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
การแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
การคลอดยากและอันตรายต่อช่องทางคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
มีความวิตกกังวล
อัตราการเสียชีวิตของมารดาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
ผลต่อทารก
อัตราการเสียชีวิตแรกเกิด
Respiratory distress Syndrome (RDS)
น้ำตาลในเลือดต่ำ
แคลเซียมและแมกนีเซียมในเลือดต่ำ
บิลิรูบินสูงในเลือด
เลือดข้น (Polycythemia)
Cardiomyopathy
ความพิการแต่กำเนิด
ความผิดปกติของระบบประสาท
การรักษา
การควบคุมอาหาร ให้ได้รับแคลอรี่วันละ 30-35 กิโลแคลอรี่ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมจากคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50 โปรตีนร้อยละ 20 และไขมันร้อยละ 30
การควบคุมน้ำหนักตัวโดยการออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ครั้งละ 20-30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน
ประเมินสภาพทารกในครรภ์โดยการทำ Non stress test มักเริ่มทำเมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ โดยตรวจสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง
มารดาได้รับการวินิจฉัยเป็น GDMA1
-GA 26+2 wk by U/S BS 50 gm =
163
mg%
-GA 28+2 wk by U/S 100g OGTT : 97,
180,111
,117 Dx.GDMA1 diet control
-GA 34+3wk by U/S OGTT : 88,
193
,134,127
การตั้งครรภ์ทำให้เกิดภาวะดื้ออินซูลินโดยเฉพาะในช่วง 24-28 wks เนื่องจากไขมันของมารดาจะจับกับฮอร์โมนที่สร้างจากรกเป็นสาเหตุทำให้ดื้ออินซูลิน ขณะตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต รกผลิตฮอร์โมนที่ต้านอินชูลินเข้าสู่กระแสเลือด ได้แก่ HPL,Estrogen, Progesterone,Prolactin และต่อมหมวกไตของทารกจะผลิต cortisol เพิ่มขึ้น ทำให้เนื้อเยื่อต้อบสนองต่ออินชูลินลดลง ส่งผลให้ระดับน้ำตาลเลือดต่ำ เพิ่มความอยากอาหาร ความไวต่ออินซูลินลดลง จนในที่สุดระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติหลังรับประทานอาหาร ในการตั้งครรภ์ปกติจะพบภาวะดื้อต่ออินซูลินเพื่อดึงน้ำตาลไปเลี้ยงทารก โดยภาวะดื้อต่ออินซูลินจะลดลงในระยะหลังคลอด Beta cell จะหลั่งอินชลินเพิ่มเพื่อให้ระดับน้ำตาลปกติ ในหญิงที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์จะมีการจะมีการหลั่งอินชูลินไม่เพียงพอหรือหายไป
มีภาวะให้น้ำตาลในเลือดสูง Beta cell หลั่งอินซูลินไม่เพียงพอโดยจะมีภาวะนี้ถึงหลังคลอด12สัปดาห์
Cephalopelvic Disproportion : CPD
ภาวะช่องเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับขนาดของศีรษะทารก หมายถึง มีความแตกต่างของขนาดศีรษะทารก และอุ้งเชิงกราน ซึ่งทำให้ทารกไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ หรือ อาจเกิดจากการที่ทารก มีการบิด หรือ เงยทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางของศีรษะใหญ่เกินกว่าจะผ่านช่องเชิงกรานลงมาได้
อาการและอาการแสดง
ตรวจภายในช่วงเจ็บครรภ์คลอด พบว่าศีรษะของทารกไม่เคลื่อนต่ำลงมา หรือ ปากมดลูกไม่มีการเปิดเพิ่มขึ้น มดลูกหดรัดตัวบ่อยและแรง เพื่อผลักดันให้ทารกเคลื่อนต่ำ แต่ทารกไม่สามารถเคลื่อนต่ำได้ จึงทำให้ส่วนนำมาอัดแน่นในช่องเชิงกราน
การวินิจฉัย
ปากมดลูกเปิดอย่างน้อย 4 เซนติเมตรขึ้นไป และบางตัวอย่างน้อยร้อยละ 80 ขึ้นไป
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอและแรงพออย่างน้อย 2 ชั่วโมง
3.การดำเนินการคลอดผิดปกติ คือมี การเปิดขยายของปากมดลูกและมีการเคลื่อนต่ำของศีรษะล่าช้า (protraction disorders) หรือปากมดลูกไม่มีการเปิดขยายและไม่มีการเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก (arrest disorders)
ต้องมีครบทั้งสามข้อดังกล่าว ถ้าไม่เข้าเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น เช่น ทารกตัวโตมาก ประมาณน้ำหนักไม่น้อยกกว่า 4500 กรัม ควรได้รับความเห็นชอบจากสูติแพทย์อย่างน้อย 2 ท่าน ลงความเห็นและให้เหตุผลกำกับไว้
การรักษา
การผ่าตัดคลอด (Cesarean section)
C/S due to CPD with PPROM with GDMA1
Fully dilate
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ
มีการเปิดขยายของปากมดลูกและมีการเคลื่อนต่ำของศีรษะล่าช้า
มีการเปิดขยายของปากมดลูกจน fully dilate แต่มีการเคลื่อนต่ำของศีรษะล่าช้า station 0 ตั้งแต่เวลา 5.30 น. – 10.30 น.
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
(Premature Rupture of membranes : PROM)
สาเหตุ
ติดเชื้อจากแบคทีเรีย
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด/ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
ถุงน้ำคร่ำอักเสบหรือติดเชื้อ
มดลูกมีความตึงตัวมาก เช่น ครรภ์แฝด แฝดน้ำ
ทารกมีโครโมโซมผิดปกติ
ท่าทารกผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าขวาง
CPD
การฉีกขาดหรือกระเมือนที่มดลูก
เคยทำแท้ง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เจาะถุงน้ำคร่ำ
ขาดวิตามินซี ทำให้ถุงน้ำคร่ำไม่แข็งแรง
สูบบุหรี่และดื่มเหล้าเป็นประจำ
เศรษฐานะต่ำ
ประเภท
1.
PPROM
(Preterm premature of membranes) ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง 24-37 wks
TPROM
(Term of membranes) ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกอายุครรภ์ครบกำหนดการเจ็บครรภ์จริง มากกว่าหรือเท่ากับ 37 wks
Prolonged ROM
ระยะเวลาตั้งแต่ถุงน้ำคร่ำแตกจนเจ็บครรภ์คลอดนานเกิน 24 ชั่วโมง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
: มักให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆไหลออกมาเรื่อยๆ
ตรวจร่างกาย
Cough test
ใช้นิ้วมือคลำปากมดลูก ในรายที่ปากมดลูกเปิดแล้ว
ตรวจพิเศษ
Nitrazine test กระดาษสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
Fern's test ใส่สไลด์ตกผลึกเป็นรูปใบเฟิร์น
Nile blue sulfate
U/S พบว่ามีปริมาณน้ำคร่ำน้อย
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
การติดเชื้อ
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ (Chorioamnionitis)
มดลูกอักเสบ (Metritis)
Sepsis
คลอดก่อนกำหนด
ต่อทารก
Sepsis
Asphyxia
Preterm
RDS
Intracranial hemorrhage
(เลือดออกในสอง)
Cerebral Palsy
(สมองพิการ)
อัตราการตายสูง
อาจเกิดภาวะสายสะดือย้อย
การรักษา
Prolong ROM
2 more items...
GA 34 wks + 3 day by U/S
ให้ Dexamethasone 6 mg q 12 hr x 4 dose จนกว่าจะคลอด
Ampicillin 2 g IV stat then 1 d IV q 4 hr
On EFM 20 min then continuous monitoring
รายงานกุมารแพทย์ทราบ
น้ำใสไหลออกจากช่องคลอด
Cough test +ve
Nitrazine test +ve
มารดาอายุครรภ์ 34 wks + 3 day by U/S เป็น PPROM เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง
ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกเอง ก่อนเข้าสู่ระยะเจ็บครรภ์จริงทั้งก่อนกำหนดหรือครบกำหนด แบ่งตามอายุครรภ์ก่อนและหลัง 37 สัปดาห์เป็นหลัก
Preterm PROM (PPROM)
Term PROM
มารดา G1P0000 อายุครรภ์ 34 wks + 3 day by U/S เจ็บครรภ์ น้ำใสไหลออกจากช่องคลอด 3 ชั่วโมงก่อนมารพ. (25/3/65 3.00 น.)
การวางแผน
การพยาบาล
3) มารดาเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูก เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
2) ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อสนับสนุน
มารดามีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ให้ประวัติน้ำใสไหลออกจากช่องคลอด วันที่ 25 มี.ค.65 เวลา 3.00 น.
มีการเคลื่อนต่ำของศีรษะล่าช้า station 0
ตั้งแต่เวลา 5.30 น. – 10.30 น.
อัตราการเต้นของหัวใจของทารกในครรภ์ 120-156 ครั้ง/นาที
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ทารกเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน FHS และ Uterine contraction ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะ Fetal distress หากพบว่า < 120 นาที ให้ประเมิน FHS ทุก 15 นาทีและรีบรายงานแพทย์ สังเกตการดิ้นของทารก ลักษณะน้ำคร่ำ ปริมาณน้ำคร่ำ เพื่อประเมินดูความผิดปกติของอัตราการเต้นของหัวใจทารกและประเมินภาวะขาดออกซิเจน ถ้าพบอัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 หรือสูง 160 ครั้งต่อนาที ให้รีบรายงานแพทย์
ประเมินสัญญาณชีพของมารดาทุก 4 ชั่วโมง และสังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ดูแลให้มารดาพักผ่อนบนเตียง นอนตะแคงซ้าย เพื่อลดการกดทับของเส้นเลือด Inferior vena cava เพื่อให้เส้นเลือดไหลเวียนไปยังมดลูกและรกได้ดียิ่งขึ้น และไม่ลุกเดิน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะสายสะดือย้อย
ดูแลให้มารดาได้รับ oxygen cannular 5 LPM ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้มารดาและทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนมากขึ้น
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำให้เพียงพอ เพื่อเพิ่มไหลเวียนเลือดไปยังมดลูกและรกได้ดี
ตรวจภายใน PV เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและตรวจดูว่ามีภาวะสายสะดือพลัดต่ำหรือไม่
เตรียมอุปกรณ์การทำสูติศาสตร์หัตถการและอุปกรณ์การช่วยชีวิตทารกแรกเกิดไว้ให้พร้อม และรายงานกุมารแพทย์เพื่อเตรียมให้การช่วยเหลือทารกแรกเกิด
1) มารดาเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ข้อสนับสนุน
มารดาอายุครรภ์ 34+3 wks by U/S
ให้ประวัติน้ำใสไหลออกจากช่องคลอด วันที่ 25 มี.ค.65
เวลา 3.00 น.
ปากมดลูก เปิด 3 cm Eff 75 % station 0
ผลการตรวจ Cough test = Positive และ
Nitrazine test = Positive
วัตถุประสงค์
เพื่อไม่ให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน FHS และบันทึกทุก 1 ชั่วโมง และ on monitor FHS อย่างต่อเนื่อง เฝ้าระวังสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ดูแลให้มารดาพักผ่อนบนเตียง นอนตะแคงซ้าย เพื่อลดการกดทับของเส้นเลือด Inferior vena cava เพื่อให้เส้นเลือดไหลเวียนไปยังมดลูกและรกได้ดียิ่งขึ้น และไม่ลุกเดิน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะสายสะดือย้อย
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอตามแผนการรักษา คือ RLS 1000 ml IV rate 100 ml/hr
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา คือ Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr x 4 dose จนกว่าจะคลอด เพื่อกระตุ้นการสร้างสารเคลือบถุงลม และสังเกตผลข้างเคียงจากการได้รับยา เช่น ร้อนวูบวาบ ปวดศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ
ให้การช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน เช่น การดูแลทำความสะอาด การขับถ่ายปัสสาวะ และการรับประทานอาหาร
4) มารดาเสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือพลัดต่ำเนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ข้อสนับสนุน
มารดาอายุครรภ์ 34+3 wks by U/S
ให้ประวัติน้ำใสไหลออกจากช่องคลอด วันที่ 25 มี.ค.65 เวลา 3.00 น.
ผลการตรวจ Cough test = Positive และ Nitrazine test = Positive
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะสายสะดือย้อย
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยเหลือ เพื่อให้ความร่วมมือในการพยาบาลและคลายความวิตกกังวลต่อทารกในครรภ์
ประเมินสัญญาณชีพของมารดา ฟังและบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น หากผิดปกติ เช่น ต่ำกว่า 110 ครั้งต่อนาที หรือมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที รีบรายงานแพทย์ทราบทันที
ดูแลให้มารดาได้รับ O2 Cannula 5 ลิตรต่อนาที ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้มารดาและทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนมากขึ้น
ตรวจภายใน PV , Uterine contraction เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและตรวจดูว่ามีภาวะสายสะดือพลัดต่ำหรือไม่ โดยพิจารณาตรวจภายในเท่าที่จำเป็น เพื่อลดการนำเชื้อโรคเข้าสู่โพรงมดลูก หากพบว่ามีสายสะดือพลัดต่ำรายงานแพทย์ทันที
ดูแลให้มารดานอนพักบนเตียง ท่านอนหงายก้นสูง เพื่อป้องกันการพลัดต่ำของสายสะดือ และจัดสถานที่ให้เงียบสงบ จัดสิ่งของที่จำเป็นไว้ใกล้ตัว
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาอายุครรภ์ 34+3 wks by U/S
ให้ประวัติน้ำใสไหลออกจากช่องคลอด วันที่ 25 มี.ค.65
เวลา 3.00 น.
ผลการตรวจ Cough test = Positive และ
Nitrazine test = Positive
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC 10.20 103/uL สูง (ค่าปกติ 4.24-10.18 103/uL)
Neutrophil 77.2 % สูง (ค่าปกติ 48.2-71.2 %)
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการติดเชื้อในโพรงมดลูก
กิจกรรมการพยาบาล
ซักประวัติ และบันทึกเวลาที่ถุงน้ำคร่ำแตก สีของน้ำคร่ำ คาดคะเนจำนวน กลิ่น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องในระยะต้นๆ เพื่อนำมาวางแผนการพยาบาลที่เหมาะสม
ตรวจวินิจฉัยยืนยันการแตกของถุงน้ำคร่ำ โดยการใช้ Speculum และทดสอบด้วย Nitrazine test , Cough test โดยใช้หลักปราศจากเชื้อทุกขั้นตอน หลีกเลี่ยงการตรวจทางช่องคลอด ถ้าจำเป็นต้องตรวจควรระมัดระวังเกี่ยวกับเทคนิคปราศจากเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกายไม่ควรมากกว่า 37.4 องศาเซลเซียส หากผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ เพื่อให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไป
ตรวจฟังเสียงหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงจากภาวะน้ำเดินก่อนคลอด ซึ่งปกติต้องอยู่ระหว่าง 110-160 ครั้งต่อนาที สม่ำเสมอชัดเจน
เปลี่ยนผ้าขวางทุก 2-3 ชั่วโมงหรือเมื่อเปียกชุ่มและสังเกตจำนวน สี ลักษณะของน้าคร่ำที่ออกมาพร้อมทั้งบันทึก หากผิดปกติ เช่น มีกลิ่นเหม็น มี Thick Meconium ให้รีบรายงานแพทย์ทราบ เนื่องจากเป็นภาวะผิดปกติที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา ATB คือ Ampicillin 2 g IV stat then 1 g IV q 4 hr ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ และสังเกตผลข้างเคียงจากยา เช่น อาการแพ้ยามีผื่นคันขึ้นตามผิวหนัง หายใจลำบาก มีอาการบวมที่ลิ้น ริมฝีปาก ใบหน้า หรือลำคอ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ WBC, Neutrophil, Lymphocyte, UA
ทฤษฎี
ผู้ป่วย
ทฤษฎี
ผู้ป่วย
ทฤษฎี
ผู้ป่วย