Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 7, นางสาวสุธีมา เครือเครา รหัสนักศึกษา 621001401486 เลขที่ 19 -…
สรุปบทที่ 7
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นปอด (Amniotic fluid embolism syndrome)
ภาวะที่มีน้ำครํ่าผjานเข้าสู่กระแสเลือดของผู้คลอด
พยาธิสภาพ
น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดแม่ผ่านทาง เส้นเลือดดำที่ปากมดลูก บริเวณที่รกเกาะ หรือบริเวณที่มีการบาดเจ็บของมดลูกและเมื่อน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดมารดา จะทำให้เกิดหัวใจทำงานผิดปกติ cardiogenic shock การหายใจล้มเหลว และการตอบสนองทางการอักเสบตามมา
สาเหตุของการเกิดภาวะ Amniotic fluid embolism (AFE)
ปัจจัยส่งเสริม
1) การหดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรงหรือได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
2) การแตกของถุงน้ำครํ่า
3) การเจาะถุงน้ำครํ่า
4) การล้วงรก
5) การผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง
6) การได้รับการกระทบกระเทือนบริเวณมดลูก
7) รกลอกตัวบริเวณริมรก หรือมีการฉีกขาดที่มดลูกหรือปากมดลูก
อาการ/อาการแสดง
พบน้อยในช่วง 48 ชั่วโมงหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง หลังแท้ง หลังเจาะ น้ำคร่ำ หรือหลังมีการบาดเจ็บของมดลูก
1) ความดันโลหิตต่ำ
2) ขาดออกซิเจนในเลือด
3) ภาวะ DIC
การประเมิน
1.มีความดันโลหิตต่ำอย่างเฉียบพลันหรือหัวใจหยุดเต้น
2.มีภาวะขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลันโดยผู้ป่วยจะมีอาการหอบ เขียว หยุด หายใจอย่างรวดเร็ว
3.มีภาวะ coagulopathy อย่างรุนแรง
4.เกิดอาการขณะเจ็บครรภ์คลอด ทำคลอด ขูดมดลูก หรือภายใน 30นาทีหลัง คลอด
5.ไม่สามารถตรวจพบว่ามีโรคหรือภาวะอื่นที่ทำให้มีอาการเหล่านี้ได้
ส่งผล
มารดา
อาจเสียชีวิต
ทารก
ขาดอากาศ เสียชีวิตในครรภ์
การรักษา
การรักษาคือการแก้ไขภาวะความ ดันโลหิตต่ำและขาดออกซิเจนในเลือด ลดภาวะขาดออกซิเจนทำให้มีการขนส่ง ออกซิเจนสู่ลูกในหญิงที่ยังไม่คลอด
ภาวะสายสะดือย้อย (prolapsed cord)
เป็นภาวะที่สายสะดืออยู่ตํ่ากว่าส่วนนำ หรือโผล่พ้น ออกมานอกช่องคลอด ร่วมกับมีถุงน้ำคร่ำแตก
ชนิดของสายสะดือย้อย
-Overt prolapsed cord เกิดในรายที่ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว พบว่าสายสะดือย้อย ลงมาต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ พ้นจากปากมดลูกมาอยู่ในช่องคลอด หรือโผล่พ้นปากช่องคลอด
-Forelying cord หรือ Funic presentation
-Occult prolapsed cord สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ อยู่ข้าง ๆ ส่วน นำของทารกในครรภ์ สายสะดือส่วนนี้จะถูกกดกับช่องทางคลอดได้เมื่อทารก เคลื่อนต่ำลง หรือมดลูกหดรัดตัว ถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้
พยาธิสรีรวิทยา(Pathophysiology)
สายสะดือถูกกดทับระหว่างปากมดลูกกับส่วนนำ (cord compression) และ เกิดการหดเกร็ง (Vasospasm) ของหลอดเลือดที่สายสะดือ ส่งผลให้ทารกใน ครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจน (asphyxia) หรือภาวะเครียด (fetal distress) และเป็นสาเหตุให้ทารกเสียชีวิตได้
อาการ
PV พบสายสะดืออยู่ข้างๆ หรือต่ำกว่าส่วนนำหรืออยู่ในช่องคลอด ผลการ ตรวจ EFM เกิด variable deceleration
ส่งผล
มารดา
ไม่มีผลต่อมารดาหรือระยะเวลาของการคลอดโดยตรง
ทารก
ขาดออกซิเจน
สายสะดือย้อยก่อให้เกิดภาวะวิกฤตต่อทารก
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงนํ้าครํ่า ในกรณีที่ส่วนนำยังไม่ลงในอุ้งเชิงกราน
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่มีภาวะสายสะดือย้อย ก่อนทำเจาะถุงนํ้าครํ่า
รายที่ถุงนํ้าครํ่าแตกแล้วและส่วนนำยังไม่ลงช่องเชิงกราน ควรจำกัด การเคลื่อนไหวของผู้คลอด
การรักษา
จัดท่ามารดาให้อยู่ในท่าที่ช่วยป้องกันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ ให้ก้นสูง
ท่าTrendelenburg, knee-chest, หรือ Sim’s position
PV ใช้นิ้วดันไม่ให้ส่วนนำกดกับสายสะดือโดยตรง
ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง (bladder filling) โดยการใส่น้ำเกลือ 500- 700 มล.ทางสายสวนปัสสาวะ
emergency C/S
ภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture)
ภาวะที่มีการฉีกขาด การแยก การแตก หรือการทะลุ ขอมดลูกในระยะตั้งครรภ์
สาเหตุ
• เคยผ่าตัดที่ตัวมดลูก
• เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง โดยเฉพาะการผ่าตัดที่ตัวมดลูกแบบตั้งเดิม (Classical Cesarean Section)
• เคยมีภาวะมดลูกแตก
• เคยผ่าตัดเนื้องอกมดลูก
• เคยผ่าตัดเย็บซ่อมแซมมดลูก
• มีความผิดปกติของมดลูก
• มดลูกหดรัดตัวรุนแรงตลอดเวลา ในระยะรอคลอด
• ได้รับยาเร่งคลอด
ชนิดของภาวะมดลูกแตก
มดลูกแตกแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete uterine Rupture) หมายถึง ภาวะที่มดลูกแตกเพียงบางส่วน ไม่ทะลุถึงช่องท้อง
มดลูกแตกแบบสมบูรณ์ (complete uterine Rupture) หมายถึง มดลูกแตกทั้ง 3 ชั้นของกล้ามเนื้อมดลูก จนเกิดการติดต่อระหว่างภายในโพรงมดลูก
อาการ
มดลูกหดรัดตัวถี่และแรงตลอดเวลา (Tetanic Contraction)
Interval < 2', Duration > 90", Intensity ++++
มดลูกหดรัดตัวไม่สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของการคลอด
ตรวจพบหน้าท้องแบ่งเป็น 2 ลอน ประมาณระดับสะดือ (bandle’s ring)
มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง กระสับกระส่าย
กดเจ็บบริเวณมดลูก
ส่งผล
มารดา
Shock จากการเสียเลือด/ตกเลือดในช่องท้อง ติดเชื้อในช่องท้อง ตัดมดลูก
ทารก
เสียชีวิตในครรภ
การป้องกัน
สตรีตั้งครรภ์ที่เคยผ่านการผ่าตัดมดลูกหรือผ่าตัดคลอดไม่ควรให้คลอดทาง ช่องคลอด (Vagina birth after cesarean section: VBAC)
ผู้คลอดที่ได้รับยาเร่งคลอดต้องประเมินการ หดรัดตัวของมดลูก อย่างน้อยทุก 30 นาที หากพบว่ามดลูกหดรัดตัวแรงและถี่ เกินไปจะต้องรีบหยุดให้ยาและรายงานแพทย์
ภาวะเส้นเลือดของลายละดือทอดผ่านปากมดลูก (Vasa previa)
Vasa previa หมายถึง เส้นเลือดที่ทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารกผ่านปากมดลูกหรืออยู่ต่ำกว่าส่วนนำ
พยาธิสรีรวิทยา
ตรวจภายในเห็นหรือคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ (synchronous)
กับเสียงหัวใจทารก
มีเลือดออกทางช่องคลอดตามหลังหรือพร้อมๆ กับการแตกของถุงน้ำคร่ำ
อาการ/อาการแสดง
ก่อนการแตกของถุงน้ำคร่ำ
ารตรวจภายในพบเส้นเลือดทอดบนเยื่อถุงน้ำคร่ำชัดเจน
หรือคลำพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ (synchronous) กับเสียงหัวใจทารก
หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
พบมีเลือดสดออกทางช่องคลอด หลังถุงน้ำคร่ำแตก
Fetal distress อย่างรวดเร็ว
ผลกระทบ
มารดา
IUGR, C/S
ท่รก
DFIU, ตายปริกำเนิด
การรักษา
ประเมินสภาวะมารดาและทารกในครรภ์ (สภาวะมารดามักไม่มีปัญหาเนื่องจากเลือดที่ออกเป็นเลือดทารก)
พบ/สงสัย ว่ามี Vasa Previa ห้ามเจาะถุงน้ำคร่ำ รอประเมินจนชัดเจนก่อน
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว ต้องให้ C/S ทันที
เตรียมการช่วยชีวิตทารกอย่างเต็มที่
ดูแลให้คลอดเอง หากทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
นางสาวสุธีมา เครือเครา รหัสนักศึกษา 621001401486 เลขที่ 19