Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชื่อและความสำคัญของชื่อวิทยาศาสตร์, นางสาวนาดีญา เด็นหมาน 64203304016 -…
ชื่อและความสำคัญของชื่อวิทยาศาสตร์
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
ตาม ICBN
การดำหนดชื่อวิทย์พืชต้องมีตัวอย่างพืช
(Nomenclature type / type)
ซึ่งต้องทีเลขทะเบียนตามระบบสากลที่ตรวจสอบได้
ชื่อวิทย์ร์ของพืชและสัตว์ต่างเป็นอิสระต่อกัน
เช่น Musa siamensis กล้วย,
Catiocarpio siamensis
ปลากะโห้
ชื่อของตัวอย่างพิจารณาตามลำดับก่อนหลังการตีพิมพ์โดยชื่อที่ถูกต้องของพืชต้องเป็นชื่อที่ได้ตีพิมพค์ร้ังแรกสุด (กำหนด 1/5/1753 เป็น priority แรก)
• ชื่อวิทยาศาสตร์ต้องมีชื่อที่ถูกต้องเพียงชื่อเดียวเท่านั้น
เช่น ใบบัวบก
ชื่อวิทยาศาสตร์
Centella asiatica Linn.
ชื่อพ้อง
Hydrocotyle asiatie Linn.
ชื่อวิทย์ต้องเป็นภาษาละติน หรือดัดแปลงภาษอื่นเป็นละติน
เช่น ดอกจำปา (champa/champac)
ชื่อวิทยาศาสตร์
Michelia chapaca Linn.
ชื่อวิทยาศาสตร์ทุกลำดับตั้งแต่ระดับวงศ์ขึ้นไป
มีกฎกำหนดคำลงท้ายชื่อตามระบบชัดเจน
Kingdom (Plant Kingdom)
Division (Phylum)........................... (-ophyta)
Subdivision...............................(-mae)
Class.....................................(oneae)
Subclass ............................(-deae)
Order........................(-ales)
Suborder................(-ineae)
Family.............(-aceae)
Subfamily.....(-oideae)
การต้ังชื่อใช้ระบบทวินาม (Binomial nomenclature)
ประกอบด้วย
ชื่อสกุล
(Generic name) และ
ชื่อแสดง
คุณลักษณะ/ชื่อตัว (Specific epithet) ทั้ง 2 ส่วนนี้จะต้องพิมพ์
ตัวเอน หรือขีดเส้นใต้
องค์ประกอบของชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อตัว (Specific Epithet)
มักเป็นคำคุณศัพท์ที่บ่งลกัษณะพเิศษบางประการของพืชนั้นๆ
ส่วนมากเป็นคำ1 คำ หากเป็น2คําต้องเชื่อมด้วย hyphen
ใช้ตัวพิมพ์เล็ก
แปลงจากชื่อคน ชื่อประเทศ แหล่งภูมิศาสตร์ข้อมูลเฉพาะของพืชนั้นๆ
ชื่อตัวของพืชต่างวงศ์กันอาจซํ้ากันได้ แต่ชื่อสกุล ห้ามซํ้ากัน
การอ้างชื่อผู้ต้ัง (Author citation)
เป็นแหล่งข้อมูลประวัติของพืช
เขียนตามหลัง specific epithet
ถ้ามี 1 พยางค์ให้เขียนเต็ม ส่วนชื่อ 2 พยางค์ขึ้นไปเขียนย่อได้
อาจมีผู้ต้ังมากกว่า 1 คน ใช้ระบบคําเชื่อมตามหลัก ICBN
ผู้ต้ังชื่อ 2 คน เชื่อมด้วย et หรือ &
เช่น สนทะเล (
Casuarina equisetifolia J.R. & G.Forse.
)
ผู้ต้ังชื่อใหม่โดยการนําชื่อเดมิมาอธิบายลักษณะที่ถูกต้อง เชื่อมด้วย ex
เช่น มะกลํ่าเผือก(
Abrus fruticulosus Wall. ex Wight & Arn. )
ผู้ต้ังชื่อมากกว่า 2 คน เชื่อมด้วย et al.
ยกระดับ taxon โดยยังคง specific epithet เดิม ให้เขียน
ระบบ Parenthetical authority ใช้เมื่อมีการย้ายสกลุ
ชื่อผู้ต้ังคนแรกไว้ในวงเล็บก่อนแล้วตามด้วยชื่อผู้ตั้งที่ยกระดับพืชนั้น
เช่น ขี้เหล็ก
(Senna siamea (Lam.) Irwin et Barneby)
(Cassia siamea Lam.)
ชื่อสกุล (Generic Name)
คำเอกพจน์หรือเป็นภาษาลาติน
เริ่มต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ (Capital latter)
เป็น1คำ ห้ามเชื่อมด้วย hyphen (-)
สะกดเต็มคำครั้งเดียว หากมีซำ้ในบทความเดียวกันย่อตัวเเรกด้วยจุด
เช่น
Centella asiatica Linn.
ย่อเป็ น
C. asiatica Linn.
เป็นชื่อดัดแปลงจากชื่อคน ลักษณะเฉพาะ ข้อมูลพืชสกุลนั้น
วัตถุประสงค์ของการใช้ICBN
ในการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
เพื่อให้มีชื่อวิทยาศาตร์ที่ถูกต้องและแน่นอน
เพื่อกำจัดชื่อที่ผิด,สับสน,คลุมเครือ หรือที่มีปัญหาให้หมด
เพื่อแสดงลำดับและความสัมพันธ์
เพื่อเป็นแนวทางในการตั้งชื่อสิ่งมีชีวิตที่พบใหม่
การเปลี่ยนแปลงทางอนุกรมวิธาน
พืชวงศ์ชา (Theaceae) เดิมแยก Genus Camellia กับGenusThea ออกจากกัน
ปัจจุบันจัดอยุ่ในสกุลเดียวกัน คือ Genus Camellia
แต่แบ่งเป็น
Subgenous Camellia
กับ
Subgenous Thea
เช่น C
amellia chrysantha
กัช
Camellia sinensis
ตัวอย่างการตั้งชื่อพืช
ชื่อเกี่ยวกับคุณลกัษณะ
คุณสมบัติของพืช สภาพที่อยุ่อาศัย
เพชรสังฆาต :
Cissus
quadrangularis
Linn.
Quadranggularis=เป็นสี่เหลี่ยม
แสลงใจ :
Strychnos
nux
-
vomica
Linn.
Nux = เมล็ดแข็ง Vomica = อาเจียน
พริกไท :
Piper
nigrum
Linn
.
Nigrum = มีสีดํา
แป๊ะก๊วย :
Ginkgo
biloba
Linn.
biloba = bi lobe(แยกเป็น 2 แฉก)
ชื่อที่แปลงมาจากชื่อพื้นเมือง
กระวาน : Amomum
krervanh
Pierre.
กระดังงา :
*Cananga
odorata Hook. F & Th*.
ชื่อที่ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล
กันภัยมหิดล: Afgekia
mahidoliae
Burtt et Chermsir.
มหาพรหมราชินี :
Mitrephora
siriketiae Weerassooriya,
Chalermglin
& R.M.K. Saunders
ชื่อที่ตั้งตามแหล่งกระจายพันธุ์
สายหยุด :
Desmos
chinensis
Scheff.
สารภี :
Mammea
siamensis
Kosterm.
ราชดัด :
Brucea
javanica
(Linn.) Merr.
ระบบการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
สมัยโบราณไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน
ค.ศ. 1753 Carolus Linnaeus กำหนดหารตั้งชื่อแบบ
Binomial system(แบบทวินาม) จะเป็นภาษาละติน ประกอบด้วยคำศัพท์ 2 คำ คือ สกุล และ สปีชีส์
ปัจจุบันยึดระบบสากล
International Code of Botanical Nomenclature (ICBN)
อภิธานของระบบชื่ออนุกรมวิธานพืชสากล
เริ่มใช้ค.ศ.1930แต่มีผลย้อนไปยังวันที่1 พ.ค. 1753
ชนิด (Species)
สิ่งมีชีวิตที่จัดว่าเป็นชนิดเดียว
กันต้องมีลักษณะ ดังนี้
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางบรรพบุรุษ
สามารถผสมพันธ์กันได้และได้ลูกที่ไม่เป็นหมัน
โครงสร้างอวัยวะและหน้าที่เหมือนกัน
โครโมโซมเท่ากัน
การกำหนดชื่อตั้งพืช
plant nomenclature
การกำหนดชื่อนั้นว่ามีชื่อเรียกว่าอะไร
ชื่อวิทยาศาสตร์
(Scientific name)
การประมวลรายชื่อพืชที่ตั้งไว้แล้วว่าซํ้ากันหรือไม่
ชื่อท้องถิ่น/ชื่อพ้อง
(Local name)
ชื่อสามัญ/ชื่อทั่วไป
(generic name/common name)
นางสาวนาดีญา เด็นหมาน 64203304016