Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
1.แรงผลักดันในการคลอด (Power)แรงหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ ,แรงเบ่งไม่เพียงพอ
แรงหดรัดตัวของมดลูกที่ผิดปกติ มี 3 ชนิด
1.มดลูกหดรัดตัว น้อยกว่าปกติ (Hypotonic uterine dysfunction)
คือ การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูกโดยเฉลี่ย น้อยกว่า 25 มิลลิเมตรปรอทหรือมีการหดรัดตัว น้อยกว่า 2 ครั้งใน 10 นาที (ระยะความห่าง Interval › 3 นาที)หรือมีความผิดปกติทั้ง 2อย่าง
สาเหตุ ประมาณครึ่งหนึ่งไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัย ตรวจพบว่ามดลูกมีการหดรัดตัวเป็นระยะ แต่ไม่แรงพอ
การดูแลรักษา การให้ syntocinon ชื่อสามัญ Oxytocin
มดลูกหดรัดตัว มากกว่าปกติ (Hypertonic uterine dysfunction)
การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูกโดยเฉลี่ย มากกว่า 50 มิลลิเมตรปรอท
หรือช่วงระหว่างการหดรัดตัวแต่ละครั้ง น้อยกว่า 2 นาที หรือมีความผิดปกติทั้ง 2อย่าง
สาเหตุ ส่วนมากไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัย ปากมดลูกมีการเปิดขยายและบางตัว น้อยมาก
ทั้งที่มดลูกมีการหดรัดตัวรุนแรง และมีอาการเจ็บปวดมาก
วินิจฉัยแยกโรค จากภาวะรกลอกตัวก่อนก าหนด (placenta abruption)
เนื่องจาก มีการหดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรงเช่นเดียวกัน
การดูแลรักษา ให้ยาบรรเทาอาการปวด ถ้าทารกมีภาวะขาดออกซิเจนต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันที
3.การหดรัดตัวของมดลูกที่ผิดปกติฉพาะท(ี่Localized abnormalities of uterine action)
Pathological retraction ring (Bandl’s ring)
สาเหตุ เกิดจากกล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างถูกยืดขยายและบางตัวมาก ในขณะที่กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนมีการเกร็ง เกิดเป็นรอยคอดคล้ายวงแหวนขึ้นระหว่างกล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง รอยคลอดนี้จะคล าหรือเห็นได้เป็นแนวขวางอยู่บริเวณต ่ากว่าสะดือ
เล็กน้อย ถือเป็นภาวะวิกฤต ต่อมารดา
แก้ไข การผ่าตัดคลอดโดยเร็ว ก่อนมดลูกจะแตกได้(uterine rupture)
Constriction ring เป็น tetanic annular contraction
สาเหตุ เกิดจากการหดรัดตัวของที่ผิดปกติของ circular muscle ทำให้ทารกไม่สามารถเคลื่อนต่ำลงมาได้เกิดการคลอดที่เนิ่นนาน มักเกิดร่วมกับรายที่มีภาวะน้ำคร่ำน้อยหรือจากการที่มีน้ำคร่ำไหลออกมาก่อนกำหนดมากพบได้น้อย
ช่องทางคลอด (Passage)
1.ส่วนที่เป็นกระดูก (Bony passage)
ลักษณะเชิงกราน ได้แก่ ไกนีคอยด์ แพลททีเพลลอยด์ มารดาคลอดเองได้ ถ้าเป็น แอนดรอยด์ แอนโทรพอยด์ อาจต้องใช้คีมช่วยคลอดหรือผ่าคลอดทางหน้าท้อง
2.เชิงกรานแคบ (pelvic contraction)
2.1การแคบที่ระดับทางเข้าของเชิงกราน (pelvic inlet contraction) มีขนาดObstetrical conjugateน้อยกว่า 10 ซม. (ปกติ 11.5 ซม.)จะคลอดไม่ได้หรือคลอดยาก
ผลต่อมารดา
➢ ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
➢ ปากมดลูกเปิดได้ช้ากว่าปกติ
➢ pathological ring (Bandl’s ring)
➢ กล้ามเนื้อขาดเลือดและตาย เช่นvesicovaginal
➢ เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้
ผลต่อทารก
➢ อัตราตายทารกปริกำเนิดเพิ่มขึ้น
➢ การฉีกขาดของเส้นเลือดบริเวณศีรษะ
ทารกจนมีเลือดออกในสมอง
➢ สายสะดือย้อย
➢ ถ้ามดลูกหดรัดตัวไม่ดี ควรผ่าตัดคลอด
2.2การแคบที่ระดับส่วนกลางของเชิงกราน (mid pelvic contraction)ระยะห่างระหว่าง ischial spines น้อยกว่า 10 ซม. (ปกติ12ซม.)
(Passenger)สิ่งที่คลอดออกมา คือ ทารก รก เยื่อหุ้มทารกและน้ำครํ่า ส่วนที่สําคัญคือศีรษะและท่าของทารกต้องได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
ความผิดปกติของส่วนนำและท่าของทารก
1.1 ทารกส่วนนำเป็นท่าก้น(Breech presentation) หมายถึง ทารกในครรภ์ในท่า longitudinal lie โดยมี cephalic pole อยู่บริเวณยอดมดลูก
1) Frank Breech (Extended breech)
2) Complete breech (Flexed breech, Full breech, Double breech)
3) Incomplete breech
1.2 ทารกส่วนนำเป็นหน้า (Face presentation)หมายถึง ทารกใช้หน้าเป็นส่วนนำโดยที่ศีรษะจะมีการแหงนมากกว่าปกติ(hyperextended head)
มารดาคลอดบุตรหลายครั้ง หน้าท้องหย่อน มดลูกแกว่งไปมา ทารกเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ กระดูกเชิงกรานแคบ
ทารกมีขนาดใหญ่ ทารก (anencephaly) ก้อนเนื้องอกบริเวณคอ กล้ามเนื้อต้นคอของทารกสั้น สายสะดือพันคอทารกหลายรอบ
1.3 ทารกส่วนนำเป็นหน้าผาก(Browpresentation)หมายถึง ทารกที่มีศีรษะเป็นส่วนนำ โดยศีรษะจะอยู่ในลักษณะกึ่งกลางระหว่างการก้มเต็มที่กับการแหงนเต็มที่ จุดอ้างอิงที่ใช้คือ กระดูกหน้าผาก (frontal bone)
-กระดูกหน้าผากอยู่ข้างหน้าของช่องเชิงกราน (frontal anterior)
-กระดูกหน้าผากอยู่ข้างหลังของช่องเชิงกราน (frontal posterior)
1.4 ทารกส่วนนำเป็นหัวไหล่หรือทารกแนวขวาง (Shoulder presentation or Transverse lie)หมายถึง ทารกมีแนวของลำตัวตั้งฉากกับแนวลำตัวของมารดา ทำให้บริเวณหัวไหล่กลายเป็นส่วนนำ(Shoulder presentation) จุดอ้างอิง คือ Acromion(Ac) มี2 แบบ คือ หลังกระดูกสะบักอยู่ด้านหน้า (dorsoanterior) หรืออยู่ทางด้านหลัง (dorsoposterior) ของเชิงกราน
1.5ทารกมีส่วนนำร่วม(Compoundpresentation)หมายถึง การมีส่วนของแขน มือหรือขาทารกยื่นลงมาพร้อมกับ ส่วนอื่นทารก พบบ่อยท่ีสดุ คือศีรษะกับมือ
การรักษา ให้เฝ้าระวังดูความก้าวหน้าของการคลอดเฉย ๆ แต่ในกรณีท่ีมีความผิดปกติของ ความก้าวหน้าของการคลอดสายสะดือย้อย ทารกมีภาวะfetaldistressให้ผ่าตัดคลอด
1.6 Persistent Occiput Posterior Position (OPP) ทารกจะอยู่ในท่าหงายศีรษะ ซึ่ง ส่วนใหญ่จะสามารถหมุนกลับมาเป็นท่าคว่ำหน้าตามปกติ (Occiput anterior) ได้เอง แต่อาจมีไม่เกิน ร้อยละ10 ที่ยังคงหงายหน้าอยู่เหมือนเดิม
1.7 Persistent Occiput Transverse position (OTP) เกิดขึ้นเนื่องจาก ศีรษะไม่ยอม
หมุนไปอีก 90 องศา เพื่อให้เป็นท่า Occiput anterior ทําให้ Occiput ค้างอยู่ในแนว Transverseของกระดูกเชิงกราน
จิตใจ (Psyche) ปัญหาหลักคือ ความกลัว
(fear) ความเจ็บปวด(pain) ความเครียด
(tension)
ความเครียด ต่อการท างานต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary gland)
ผลของความเครียดในระยะสั้น
(Short term stress response)
ท าให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ตับมีการหลั่งกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น
หลอดลมขยายมากขึ้น
ระบบทางเดินอาหารท างานลดลง
ปัสสาวะลดลง
ระบบการไหลเวียนของเลือดเปลี่ยนแปลง
ผลของความเครียดในระยะยาว
(More prolonged stress response)
มีการคั่งของโซเดียมและน ้าและขับ
โปตัสเซียมเพิ่มขึ้นที่ไต
เพิ่มปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและ
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ปริมาณน ้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
มีการสลายโปรตีนและไขมัน เพื่อเปลี่ยน
เป็นพลังงานมากขึ้น
ผลของความเครียดต่อการคลอด (Effects of stress on labour)
ลดการทำงานของกล้ามเนื้อมดลูก
ระดับกลูโคสที่เก็บสะสมไว้ลดลงทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อมดลูกลดลง
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น, หลอดเลือดส่วนปลายหดรัดตัวและเลือดไปเลี้ยงมดลูกลดลง
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกลดลง เนื่องจากระดับกลูโคสลดลงและ epinephrine เพิ่มขึ้น