Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเนื้อหา 6 บท วิถีชีวิต และวัฒนธรรม,…
สรุปเนื้อหา 6 บท วิถีชีวิต
และวัฒนธรรม
บทที่ 2 พัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานในอษุาอาคเนย์
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในสมัยดลหะ
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงช่วงกลาง(4,000-2,500 ปี)
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงช่วงปลาย(2,500-1,800 ปี)
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงช่วงต้น(5,000-4,000 ปี)
นิทานกำหนดมนุษณ์ วรรณกรรมร่วมอุษาคเนย์
เป็นวรรณกรรมร่วมของคนในตระกลู ลาว-ไทย และมอญ-เขมร เป็นเครือญาติกัน หรือ เป็นพี่น้องท้องแม่เดียวกัน
วถิวัฒนธรรมร่วมของผู้คนในอุษาคเนยก์ ก่อนและหลังรับอิทธิพลจากอินเดีย
ศาสนาผี
บูชาเชื่อสัตว์ศักดิ์สิทธิ์
ขวัญ
พิธีศพ
การแต่งกาย
แม่หญิงเป็นใหญ่
นาคและนางนาค
เรือนเสาสูง
อาหารหลัก(ข้าว)
เทคโนโลยีโลหะและเครื่องโลหะ
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญของสมัยยุคหินใหม่ที่พบในไทย
แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า ต.จระเข้เผือก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
พบโครงกระดูกมนุษย์ 42 โครง
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในยุคโฮโลซนี (Holocene)
ดำรงชีวิตแบบสังคมเกษตร
รู้จักทำเครื่องปั้นดินเผา
มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นชุมชน
เริ่มมีการติดต่อกับชุมชนอื่นเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้า
สมัยก่อนประวิตศาสตร์ในดินแดนไทย
ช่วงที่ยังไม่มีการประดิษฐ์ลายลักษณ์อักษรขึ้น
มนุษย์ยุคหินเก่า(Old Stone Age)
มนุษย์มีวิวัฒนาการสามารถเดินตัวตรงและเดินด้วยสองขา
มนุษย์สมัยนี้เร่ร่อน และพักอาศัยตามถ้ำ
พบเครื่องมือที่ทำจากหินกรวดแม่น้ำ เรียกว่า เครื่องมือหินกะเทาะ
มนุษย์ยุคหินใหม่(New Stone Age)
พบหลักฐานเครื่องมือที่ทำจากหินกรวดแม่น้ำ แต่มีความปราณีตมากขึ้น "เครื่องมือขวานหินขัด"
รู้จักทำเครื่องจักรสาน เครื่องปั้นดินเผา
ยุคไพลสโตซนี (Pleistocene)
เป็นช่วงเวลาของยุคน้ำแข็ง
บทที่ 1 พัฒนาการของศาสนาและความเชื่อในอุษาอาคเนย์
ศาสนาและความเชื่อในอุษาคเนย์
ศาสนาในอุษาคเนย์
ความเชื่อดั้งเดิมและความเชื่อ ทางพุทธศาสนาในลาว
เกาได๋ Cao dai ความเชื่อแบบผสมผสานในเวียดนาม
ศาสนาพุทธในไทย
พุทธศาสนาแบบชาวบ้าน (Popular Buddhism)
พุทธศาสนาสาหรับนักวิชาการ/ปัญญาชน (Intellectual Buddhism)
ศาสนาพราหมณ์
วรรณะพราหมณ์ (Brahmana)
วรรณะแพศย์ (Vaishaya)
วรรณะกษัตริย์ (Kshatriya)
วรรณะศูทร (Sudra)
การเผยแพร่ศาสนาคริสต์
กำเนิด“มิสซังสยาม”ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
โดยคณะสงฆ์พื้นเมืองมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารสี (M.E.P.)
การเผยแพร่ศาสนาอิสลาม
เผยแพร่ศาสนาอิสลามเป็นครั้งแรกบนเกาะสุมาตราเหนือ ในปี พ.ศ. 1389
บทที่ 3 ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในสังคมไทย
ความหมายคำว่า "ชาติพันธุ์"
กลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมร่วมกัน มีขนบธรรมเนียมประเพณี และ๓าษาพูดเดียวกัน
การเข้ามาของอารยธรรมภายนอกสู่ดินแดนอุษาคเนย์
ชนชั้นสูง เป็นกลุ่มแรกที่รับอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมมอญ
วัฒนธรรมทวารวดี
เมืองสำคัญในวัฒนธรรมทวารวดี
เมืองจันแสน
เมืองคูบัว
เมืองละโว้
เมืองศรีเทพ
เมืองอู่ทอง
เมืองศรีมโหสถ
เมืองนครชัยศรี
เมืองหิริภุญชัย
ผู้คนในอณาจักรทวารวดี
มีการปกครองในรูปแบบ "ธรรมราชา"
อารยธรรมเขมร ขอม
ลัทธิเทวราชา ถือว่า ราชา/กษัตริย์ คือ เทวะ ลงมาจุติเพื่อสร้างสันติสุขบนโลกมนุษย์
กษัตริย์กรุงศรีอยุธยา มีสถานะเป็นเหมือน เทวราชา
กลุ่มไต / ไท
กลุ่มภาษาไตกะได / ไทกะได
เป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในตอนใต้ของจีน
มีรากศัพท์เป็นคำๆเดียว เช่น พ่อ แม่ ไป มา แขน ขา
พัฒนาการของอณาจักรในดินแดนไทย
ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีเมืองใหญ่สมัยทวารวดี คือ เมืองละโว้
สร้างศูนย์กลางใหม่ขึ้นที่กรุงศรีอยุธยา มีชื่อเรียกว่า สยาม
การกำเนิดกรุงศรีอยุธยา
การสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
การย้ายเมืองจาก อโยธยาศรีรามเทพนคร เพราะโรคห่าระบาด
เหตุแห่งความรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยา
โอบล้อมด้วยแม่น้ำ 3 สาย
แม่น้ำป่าสัก
แม่น้ำลพบุรี
แม้น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำ 3 สายเชื่อมกับเครือข่ายคลองธรรมชาติและคลองขุด ได้รับฉายาจากชาวตะวันตกว่า เวนิสแห่งตะวันออก
ชัยภูมิที่ตั้งของอยุธยาเอื้อต่อการค้า
บทที่ 4 ประเพณีและพิธีกรรมในสังคมไทย
ความหมาย
ประเพณี คือ รูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่สังคมนั้นยอมรับ
พิธีกรรม คือ รูปแบบการกระทำเพื่อไปสู่เป้าหมายที่คาดไว้
ประเพณีและพิธีกรรม
ประเพณีเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์
ประเพณีกำฟ้าของชาวไทยพวน
ประเพณีบุญเบิกฟ้า ชาวมหาสารคาม
ความเชื่อเรื่องการนับถือผีบรรพชน
ผีเจ้าที่ และผีขุนน้ำ
ประเพณีทำบุญวันสารท
ประเพณีตักบาตรดอกไม้บูชาอินทขิล เชียงใหม่
ประเพณีบุญคูนลาน
ความเชื่อ
ความเชื่อเรื่องขวัญ
รูปแบบประเพณีที่แตกต่างตามกลุ่มชนชั้นในอดีต
ประเพณีหลวง ตามคติ เทวราชา
ประเพณีราษฎร์ เกี่ยวข้องกับครอบครัวและวิถีแบบไทย
ประเพณีปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน เป็นประเพณีบวชลูกแก้วของไทยใหญ่
ประเพณีบวชช้าง สุโขทัย เป็นงานอุปสมบทของชาวบ้านหาดเลี้ยว
ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ ณ พระพุทธบาท สระบุรี
ประเพณีโยนบัว สมุทรปราการ
ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
ประเพณีแห่เรือไฟ
ประเพณัชักพระ
ประเพณีงานบุญเทศน์มหาชาติ
ประเพณีทอดกฐิน
ประเพณีลอยกระทง
มีที่มาจากอินเดีย เพื่อบูชาแม่น้ำคงคา
ลอยกระทง ตาก
ลอยกระทงสายเพื่อขอขมาแม่น้ำปิง
ประเพณียี่เป็ง
ลอยกระทงของชาวล้านนาในวันเพ็ญเดือนสอง
ความแตกต่างของเดือนอ้ายในแต่ละภูมิภาคของไทย
การนับเดือนตามแบบจันทรคติ
ราว กลาง ก.ย. - กลาง ต.ค.
ราว กลาง ต.ค.- กลาง พ.ย.
ราว กลาง พ.ย.- กลาง ธ.ค.
ภาคกลาง
เดือน 11
เดือน 12
เดือนอ้าย
ภาคเหนือ
เดือนอ้าย
เดือนยี่
เดือนสาม
วันปีใหม่ไทย เริ่มที่เดือนอ้าย วันขึ้น 1 ค่ำ เดือนอ้าย
เรื่องการนับถือธรรมชาติและสัตว์ศักดิ์สิทธิ์
ยกย่องคางคกและกบ
งานบุญบั้งไฟ ยโสธร
ยกย่องงู
นาค
บทที่ 5.2 ดนตรีไทย การละเล่นพื้นบ้าน ระบำรำฟ้อน
การละเล่นพื้นบ้านไทย
พิธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับอำนาจกษัตริย์
การละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับคติความเชื่อเรื่องความอุดมสมบูรณ์
การละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาเด็ก
การละเล่นหุ่นไทย
หนังใหญ่ / หนังตะลุง
หุ่นใหญ่หรือหุ่นหลวง
หุ่นกระบอก
หุ่นละครเล็ก
โขน
ละครนอก
ละครใน
ลิเก
การเล่นระบำรำฟ้อน
ภาคกลาง
รำวง เต้นรำเคียว เพลงอีแซว
ภาคอีสาน
เซิ้งกระติ๊บ เซิ้งบั้งไฟ
ภาคเหนือ
ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนสาวไหม
ภาคใต้
รำโนรา การร้องรองเง็ง
ดนตรีไทย
5,000 ปีที่แล้ว คนในอษุาคเนย์ทำเครื่องดนตรีจากไม้
3,000 ปีที่แล้ว ชุมชนรู้จักเทคโลโลยีถลุงโลหะ จึงมีการผลิตเครื่องดนตรจากโลหะสำริด
ดนตรีไทย เป็น “เครื่องมือของพิธีกรรม”
เพื่อเสริมบารมีของผู้นำ
บทที่ 5.1 ศิลปกรรมในดินแดนไทย
ความแตกต่างของศิลปกรรมไทย
อุโบสถ หรือ โบสถ์ คอื อาคารสาคัญของวัดทางพุทธศาสนา ใช้เป็นที่ประชุมพระสงฆ์เพื่อทำสังฆกรรม
วิหาร คือ อาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูป
ศาลาการเปรียญ ใช้เป็นอาคาร
เอนกประสงค์เพื่อประกอบศาสนกิจต่าง ๆ
การทำหลังคาซ้อนชั้น
สถูป (Stupa) หมายถึง สะสม รวมเข้าด้วยกัน
เจดีย์ (Chedi) หมายถงึ สถานอันเป็นที่ควร
เคารพ บชูา สักการะ
ปรางค์ มาาจากคติความเชื่อในศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเขาพระสุเมรุ
บทที่ 6 ความหลากหลายของศาสนาและชาติพันธุ์ต่างๆในชุมชนสาทร
ความเป็นมาของสาทร
จำเดิมพื้นที่เขตสำทรเป็นผืนป่าเรียกว่าป่าแตบ(ป่าไม้ราบ) มีคนไทยพื้นถิ่นอำศัยอยู่ประปรายทำกสิกรรมและเลี้ยงสัตว
ปีพุทธศักราช 2367 ได้บูรณะวัดคอกควายและได้ขนานนามใหม่ว่า"วัดคอกกระบือ"
รัชกาลที่ 3 ได้โปรดเกล้าห้บูรณะพระอุโบสถอีกครั้ง พร้อมทั้งสร้างเรือสำเภาไว้หลังโบสถ์ และพระราชทานชื่อ
ใหม่ว่า "วัดญาณนาวา"
9 พ.ย.พ.ศ.2532ยกสาขายานาวา ขึ้นเป็นเขตสำธร และเปลี่ยน
คำว่่า ""สาธร" เป็น "สาทร"
ชาติพันธุ์ในสาทร
การอพยพของชนชาติมอญ
ชนชาติมอญก็เช่นกัน ได้ต่อสู้มาแล้วตั้งแต่อดีต เคยเป็นใหญ่สถาปนาราชอาณาจักรหงสาวดีปกครองพม่าทั้งสิบทิศ แล้วก็สูญเสียอำนาจไป และกอบกู้เอกราชคืนมาได้ ปี พ.ศ.2300 มอญก็ต้องพ่ายแพ้แก่พระ
เจ้าอลองพญา และไม่สามารถกอบกู้เอกราชได้อีกเลย
การอพยพของชนชาติจีน
เดินทางเข้ามายังลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและอ่าวไทย ก่อนที่ชนชาติไทยจะตั้งรัฐไทยขึ้นที่สุขโขทัย
คนจีนเข้ามาอยู่ในเขตสาทรกันมาก ปัญหาเกิดตามมาคือ ที่ฝังศพ
สุสานแต้จิ๋ววัวจึง
เกิดขึ้นจากการรวบรวมเงินบริจาคของคนแต้จิ๋วในกรุงเทพมหหานคร จัดซื้อ
ที่ดินจำนวน 125 ไร่เศษ เพื่อปลดทุกข์ ของคนแต้จิ๋วที่ตาย
แล้วไม่มีที่ไป
การอพยพของชนชาติอินโดนีเซีย
มากันตั้งแต่ยุคกรุงศรีอยุธยาเรื่อยมาจนถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันชาวอินโดนี
เชียกลุ่มใหญ่มาตั้งบ้านเรือนอยู่ในเขตสาทร เป็นที่มาของมัสยิดยะวา
การอพยพของชนชาติยะไข่หรือชาวทะวาย
ชาวทะวายเป็นชนเผ่าหนึ่งในประเทศพม่า
วัดบรมสถล (วัดดอน) เกิดขึ้นจากผู้มีจิตศรัทธาร่วมแรงร่วมใจของชาวทวายแห่งพุกามประเทศ
การอพยพของชาวอินเดียในเขตสาทร
ก่อตัวขึ้นพร้อมกับกำรขยายตัว
ของลัทธิอาณานิคมตะวันตกในอินเดียและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 23 นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
การเข้ามาสู่ประเทศไทยของชาวตะวันตก
ในแผ่นดินพระนารายณ์มหาราชมีความสัมพันธ์กับชาติตะวันตกเจริญสูงสุด
แผ่นดินสมเด็จพระเทพราชา(พ.ศ.2231-2246) ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับชาติตะวันตกเริ่มเสื่อมลง จนถึงรัชสมัยของสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(ร.4)แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ความสัมพันธ์กับ
ชาติตะวันตกก็เริ่มดีขึ้น
ศาสนาและสถานที่สาคัญที่เกี่ยวข้องในสาทร
ศาสนาพุทธ
วัดยานนาวา
วัดสุทธิวราราม
วัดดบรมสถลหรือวัดดอน
วัดปรกมอญแขวงทุ่งวัดดอน
ศาสนาคริสต์(คาทอลิก)
วัดเซนต์หลุยส์
ศาสนาอิสลาม
มัสยิด ยะวา
ศาสนาพราหม-ฮินดู
วัดวิษณุ
ความเกี่ยวพันของสาทรกับสถาบันพระมหากษัตริย
นางนมบัวหรือเจ้าแม่วัดดุสิต
เจ้าพระยามหาโกษาธิบดี
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
สถานที่สำคัญในสาทร
สถานทูต
สถานทูตเดนมาร์ค
สถานทูตบราซิล
สถานทูตเยอรมัน
สถานทูตออสเตรเลีย
สถานทูตออสเตรีย
สถานทูตเม็กซิโก
สถานทูตสิงคโปร์
สถานทูตสมณวาติกัน
สถานทูตสโลวัก
สถานทูตกรีซ
สถานทูตมาเลเซีย
สถานกงศุลฝรั่งเศส
ข้อมูลทั่วไปของเขตสาทร
แขวงทุ่งวัดดอน 3.343 ตารางกิโลเมตร
แขวงยานนาวา 2.464 ตารางกิโลเมตร
แขวงทุ่งมหาเมฆ 3.519 ตารางกิโลเมตร
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย
โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
โรงเรียนพระแม่มารีสาทร
วิทยาลัยพยาบาลเซนต์หลุยส์
ความเชื่อดั้งเดิมในอุษาคเนย์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ไตรภูมิ หรือ ภพภูมิทั้งสาม
เทวภูมิ 6
มนุษยภูม 1
รูปภูมิ 16
อบายภูมิ 4
อรูปภูมิ 4
ความเชื่อดั้งเดิมในอุษาคเนย์
ความเชื่อเรื่อง “นัต ” ของเมียนมา
ความเชื่อชวาเกอยาเวน : ศาสนาชวา
ความเชื่อเรื่องผีฟ้าพญาแถน และผีบรรพชน
ความเชื่อเรื่อง “ขวัญ”
ความเชื่อทางพุทธศาสนาในสังคมไทย
นิกายเถรวาท (หรือ หินยาน) เป็นนิกายเก่าแก่ที่สุด
นิกายมหายาน เป็นนิกายทเี่กิดขึ้นหลังการสัง คายนาครั้งแรก
ไตรภูมิพระร่วง : วรรณกรรมเอกทางพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
เป็นพระราชนิพนธ์ของ พระมหาธรรมราชา(ลิไท)
การสร้างพระเมรุมาศ คือ การจำลองเขาพระสุเมร
พระพุทธรูปในอุโบสถกับภาพจิตรกรรมไตรภูมิ
จักรวาลคติในไตรภูมิพระร่วง
แนวคิดที่เป็นคำตอบถึงที่มาของธรรมชาติ
200101120
นางสาวศศิธร แซ่หลอ