Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิควิธีสอนดนตรี - Coggle Diagram
เทคนิควิธีสอนดนตรี
หลักการทั่วไปในการสอนดนตรี
สอนให้รู้จักเสียงก่อนสัญลักษณ์
ให้ผู้เรียนสังเกตและฟังเสียงแล้วให้เลียนแบบเสียงต่างๆ เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่าง
สอนทีละอย่างได้แก่ จังหวะ ทำนอง ลีลาของดนตรี
ผู้เรียนควรปฏิบัติได้ดีในแต่ละขั้นตอน
ให้ตัวอย่างฝึกปฏิบัติก่อนสรุปเป็นหลักการและทฤษฎี
ให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติในเรื่องของคุณภาพของเสียงและประยุกต์สิ่งที่ได้รับ
การสอนชื่อตัวโน๊ตต้องสัมพันธ์กับบทเพลงที่ใช้เรียน
หลักการสอนดนตรีในประเทศไทย
หลักการสอนของหม่อมดุษฎี บริพัตร
ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับดนตรีโดยใช้พื้นฐานการเคลื่อนไหวและทักษะดนตรีเป็นสื่อ การมีส่วนร่วมปฏิบัติในการสอน ผู้เรียนจะคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สนทนาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แลพแสดงกิจกรรมระหว่างการสอนเพื่อรับรู้และเกิดประสบการณ์ที่ดี
หลักกการสอนของอรวรรณ บรรจงศิป
หลักการนี้ใช้ทักษะดนตรี ได้แก่ การฟัง ร้อง เล่น เคลื่อนไหว สร้างสรรค์และอ่าน และโครฃสร้างประกอบ ได้แก่ จังหวะ ทำนอง เสียงประสาน รูปแบบ อารมณ์เพลง และลีลา
หลักการสอนของวิมลศรี อุปรมัย
พัฒนาด้านการฟัง พูด อ่าน เรียนรู้ภาษาดนตรีในลักษณะเดียวกับที่ตนเรียนรู้ภาษาตนเอง การฟัง การรับและคิด และการเขียน (สร้างสรรค์)
หลักการสอนดนตรีต่างประเทศ
หลักการสอนของดาลโครซ
เน้นเรื่องการเคลื่อนไหวเกี่ยวข้องกับจังหวะ มีชื่อเรียกเฉพาะว่า
ยูริธึมมิกส์
การพัฒนาการฟังแล้วคิดควบคู่ไปกับการเคลื่อนไหวร่างกายทำให้มีพัฒนาการทางด้านดนตรีได้ กล่าวได้ว่าดนตรีเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางสรีรวิทยา จิตวิทยาและทางกายภาพวิทยา
หลักการสอนของออร์ฟ
ผู้เรียนจะได้สำรวจเกี่ยวกับองค์ประกอบของดนตรีซึ่งสัมพันธ์กับการเคลื่อนไหว ในหลักนี้ผู้เรียนจะสามารถร้องเพลง เล่นดนตรี และเคลื่อนไหวไปกับดนตรีได้ รวมทั้งการอ่านและเขียนได้
หลักการสอนของโคดาย
พัฒนาความสามารถทางด้านดนตรีที่มีอยู่ในตัวผู้เรียนให้สมบูรณ์แบบ
อ่าน เขียนและสร้างสรรค์ดรตรีได้อย่างคล่องแคล่ว
ถ่ายทอดวรรณคดีพื้นบ้านให้ผู้เรียนได้รู้จัก
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณคดีดนตรีอื่นๆ
หลักการสอนของคอมพรีเฮนซีฟ มิวซิเชิ่นชิป
จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนมีบทบาท เป็นทั้งผู้ฟัง ผู้แสดง และผู้สร้างสรรค์ ทำให้ผู้เรียนได้รับสาระทางดนตรีและกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรี