Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - Coggle Diagram
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รองศาสตราจารย์ ดร.จิณณวัตร ปะโคทัง
นายกสมาคมพัฒนาวิชาชีพ
การบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย
กระบวนการ (Flow Chart) ของระบบการเรียนรู้
5.จัดกิจกรรมการเรียนรู้
6.ประมวลผลการเรียนรู้และการสอนแต่ละหน่วย
4.ออกแบบการวัดผล และกิจกรรมการเรียนรู้
7.นิเทศภายใน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.จัดกลุ่มปรับพื้นฐาน
8.ปรับปรุงแก้ไข/วิจัย
2.ทดสอบและวิเคราะห์ผู้เรียน
9.ดำเนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
1.วิเคราะห์คำอธิบายรายวิชาและออกแบบหน่วยการเรียนรู้
10.สรุปผลสัมฤทธิ์และรายงานผลการเรียนรู้
องค์กรเรียนรู้
พัฒนาตนเอง
เรียนรู้ในทีม
คิดสร้างสรรค์
คิดเชิงระบบ
มีวิสัยทัศน์ร่วม
การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษา
ปกติหรือไม่
ส่งเสริมทักษะชีวิต
คัดกรองนักเรียน
รายงานผลระบบดูแลฯ
รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ระบบการจัดการคุณภาพ
ทำตามระบบ (Do)
ตรวจสอบ/ประเมิน (Check)
วางระบบ (Plan)
แก้ไข/พัฒนา (Act)
รูปแบบ Flow chart
Top – D0wn Flow Chart
Process Flow Chart
Macro Flow Chart
การออกแบบระบบคุณภาพ
กำหนดวิธีการและบันทึก
วิเคราะห์ตัวชี้วัดของระบบ
ออกแบบ Process flow chart ของระบบย่อย
วางระบบสารสนเทศ
วิเคราะห์มาตรฐานและข้อกำหนดของระบบย่อย
การออกแบบระบบคุณภาพ
เกณฑ์
(โรงเรียนเป็นผู้กำหนดเองจากตัวชี้วัดระบบ)
ตัวชี้วัดระบบ
(วิเคราะห์จากขั้นตอนกระบวนการของระบบย่อย)
ข้อกำหนด
(ข้อกำหนดคุณภาพการศึกษาตามจำนวนตัวบ่งชี้)
ระบบ
(ระบบย่อยของโรงเรียนที่เชื่อมโยงมาตรฐาน)
มาตรฐาน
(มาตรฐานการศึกษาเชิงระบบ 18 มาตรฐาน)
การออกแบบระบบในโรงเรียน (System)
ตัวชี้วัด (KPI) เหมาะสมทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
ครอบคลุม Input,Process,Output,Outcome,Impact
สะท้อนมาตรฐาน/ข้อกำหนดได้เหมาะสม/ชัดเจน
เกณฑ์ของโรงเรียนควรกำหนดให้เป็นช่องว่างที่จะพัฒนา
สามารถประมวลเป็นศักยภาพและแนวทางการเรียนรู้ของทีม,โรงเรียน
เป็นเกณฑ์ที่แสดงข้อมูลที่เป็นจริงชัดเจน
วิธีการมาตรฐานแสดงรายละเอียดของแต่ละขั้นตอนว่า ใคร?ทำอะไร? ทำอย่างไร? ได้ผลลัพธ์อะไร?
เป็นนวัตกรรมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย,เร็ว
เป็นการออกแบบที่เน้น How to ที่สะท้อนมาตรฐาน
ขั้นตอน (Flowchart) ในรูปแบบ
ไม่ซ้ำซ้อน ผู้ปฏิบัติเป็นคนเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน ใช้ขั้นตอนเดียว
ไม่ซับซ้อน (มีเท่าที่จำเป็น)
การบันทึกมาตรฐานควรออกแบบให้ง่ายต่อการบันทึก,ตรวจสอบและนำเข้าสู่ระบบ IT (เป็นการสะท้อนนวัตกรรมอย่างหนึ่ง)
การจัดการความรู้ในองค์กร
ชนิดของความรู้
Explicit Knowledge
ความรู้ที่เป็นวิทยากร เป็นหลักวิชา กลักการ ทฤษฎี ได้จากการศึกษาค้นคว้าแล้วนำมาบันทึก เช่น หนังสือ สื่อ สิ่งพิมพ์ อีเลคทรอนิคส์
Tacit Knowledge
ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาและประสบการณ์ เป็นความรู้จากประสบการณ์การปฏิบัติงาน ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา
แนวคิด “การจัดการ” ความรู้
เน้น “2T”
Tool & Technology
ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge
นำไปปรับใช้
เรียนรู้ ยกระดับ
เข้าถึง ตีความ
รวบรวม/จัดเก็บ
เน้น “2P”
Process & People
ความรู้ฝังลึก Tacit Knowledge
นำไปปรับใช้
มีใจ/แบ่งปัน
สร้างความรู้ ยกระดับ
เรียนรู้ร่วมกัน
Knowledge Based System ระบบฐานความรู้
Ask an Expert ความรู้จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ
E-Knowledge ความรู้จากสื่ออีเลคทรอนิคส์
Book Brief สรุปสาระสำคัญขององค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน
Knowledge Sharing ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Working Knowledge ความรู้ในการปฏิบัติงาน
Best Practices ความรู้จากการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
Model “ปลาทู”
Knowledge Sharing
“คุณอำนวย”
ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ”
ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
Knowledge Assets
“คุณกิจ”
ส่วนหาง สร้างคลังความรู้
เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT
“สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs
Knowledge Vision
“คุณเอื้อ”
ส่วนหัว ส่วนตา
มองว่ากำลังจะไปทางไหน
ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
Story telling
เป็นการบอกเล่าเรื่องให้เกิดความรื่นรมย์ ช่วยสร้างสัมพันธภาพ โดยเรื่องที่เล่าจะทำให้ผู้ฟังเข้าไปร่วมอยู่ในความคิด มีความรู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องที่เล่ามา มีความต้องการหาคำตอบ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องที่เล่านั้น
ทักษะการให้กำลังใจ
ค้นหาศักยภาพ
ร่วมกันหาทางปฏิบัติ
สะท้อนความรู้สึก / สาระ
ติดตามผล
รับฟังอย่างตั้งใจ
ทักษะการเตือน / ชวน
เตือน / ชวน
ขอความเข้าใจ / เห็นใจ
บอกความรู้สึก ตามด้วยเหตุผล
ต่อรอง / ผัดผ่อน
ทักษะการถาม
ใช้คำถามปลายเปิด
ไม่ใช้คำถามซ้อนคำถาม
ถามเพื่อค้นหา ไม่ถามเพื่อวินิจฉัย
หลีกเลี่ยงคำว่า “ทำไม”
ควรใช้คำว่า “มีอะไรทำให้...”
การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์
บอกความรู้สึก / เหตุผล
ขอร้อง / เตือน / ชวน
ทำตัวเป็นพวกเดียวกัน
ขอความเห็นใจ
สำรวจอารมณ์ทั้งสองฝ่าย