Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Meconium Aspiration Syndrome; MAS with Persistent Pulmonary Hypertension…
Meconium Aspiration Syndrome; MAS
with
Persistent Pulmonary Hypertension of The New Born;PPHN
Meconium Aspiration Syndrome; MAS
พยาธิสรีรภาพ
ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน
ตอบสนองโดยการอ้าปากหายใจ(Deep gasping)
การเคลื่อนไหวของลำไส้มากขึ้น (Hyperperistalsis) กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักหย่อนตัว
ขี้เทาถูกขับออกมาปนกับน้ำคร่ำ
หายใจเอาน้ำคร่ำบ่นขี้เทาเข้าสู่หลอดลมคอและปอด
ถ้าน้ำคร่ำมีขี้เทาข้นเหนียวจํานวน(Thick Meconium)
เกิดการอุดกั้นหลอดลมใหญ่
1 more item...
ขี้เทาในน้ำคร่ำมีขนาดเล็ก( Moderate Meconium)
อุดหลอดลมเล็กๆ
2 more items...
ปอดอักเสบ(Chemical Pneumonia)
กดการสร้างสารลดแรงตึงผิว
1 more item...
อาการและอาการแสดง
รุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้นๆ 24-72 ชั่วโมง
ABG : pH ปกติPaco2 ลดลง
รุนแรงปานกลาง
หายใจลำบากมากขึ้นมีการดึงรั้งของช่องซี่โครง มีรุนแรงสูงสุด 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ABG มีPaco2 สูงกว่าปกติ
Metabolic acidosis
รุนแรงมาก
ขาดออกซิเจนรุนแรงมีระบบหายใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจวายทันทีหลังคลอดหรือภายใน 2-3 ชั่วโมง หลังคลอด
ABG มีPao2 มาก Paco2 ยังไม่ค่อยสูงผิดปกติ แต่จะสูงขึ้นจนเกิดภาวะหายใจล้มเหลวใน 24 ชั่วโมงแรก
ถ้าไม่กลายเป็น PPHN อาการจะดีขึ้นใน 7 วัน แต่ยังคงหายใจเร็วไปจนถึงอายุ 2 สัปดาห์
ผิวหนัง : ผิวหนังแห้งลอก เล็บยาว เล็บและสายสะดือมักจะติดสีเหลืองเขียวของ เทา
หายใจลำบาก
ปีกจมูกบาน
ทรวงอกโป่งออกหรืออกถัง( Barrel Chest)
หายใจเร็ว
ตัวเขียว
หน้าอกบุ๋ม
ฟังปอดได้ยินเสียง Rhonchi และ Crepitation
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
มารดาอายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์ ที่ส่งผลให้รกเสื่อมสภาพ
มารดามีภาวะความดันในโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ผ่านรถมายังทารก น้อยลง
3.มารดามีภาวะรกเกาะต่ำหรือรถลอกตัวก่อนกําหนด อาจทําให้มีเลือดออกทางช่องคลอดเมื่อมี การเสียเลือดมากทําให้ปริมาณเลือดที่ผ่านรกไปยังทารกน้อยลง
มารดามีภาวะ คราน้อยกว่าปกติ ส่งผลให้ทารกในครรภ์เคลื่อนไหวไม่สะดวก เกิด ภาวะสายสะดือถูกกดได้ง่าย
มารดามีภาวะถุงน้ำคร่ำอักเสบหรือการติดเชื้ออื่นๆ มีน้ำคร่ำรั่วก่อนคลอดนานกว่า 18 ชั่วโมง มีประวัติการใช้สารเสพติด ส่งผลให้เกิดการกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ทำให้ทารกใน ครรภ์ได้รับออกซิเจนน้อยลง
ปัจจัยด้านทารก
เมื่อทารกในครรภ์มารดา มีภาวะขาดออกซิเจน ร่างกายของทารกจะมีการปรับตัวเพื่อหาแหล่ง ของออกซิเจนมาใช้ เมื่อรับออกซิเจนจากสายสะดือไม่ได้ ทารกจะมีภาวะเครียด เป็นผลทําให้มีการ คลายตัวของหูรูดลําไส้ของทารก ส่งผลให้ทารกมีการถ่ายเทาปนในน้ำคร่ำมารดา
การวินิจฉัย
ทารกมีอาการหายใจลำบาก มีการใช้กล้ามเนื้อในการหายใจ ทรวงอกโป่งเนื่องจากมีลมคั่งค้างในทรวงอกไม่สามารถระบายออกได้จากการอุดกั้นทางเดินหายใจ ฟังเสียงปอดไม่ได้ยินเสียงอากาศ ผ่านเนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจแบบสมบูรณ์
ตรวจร่างกายพบน้ำคร่ำมีตะกอนขี้เทาปนในระยะคลอด หรือร่างกายของทารกมีลักษณะของ ขี้เทาติดอยู่ตามผิวหนัง
ภาพถ่ายรังสีทรวงอกพบความผิดปกติ ได้แก่ alveolar infiltration hyperaeration atelectasis
การส่งตรวจวิเคราะห์ก๊าซในเลือดอาจพบภาวะกรดในร่างกาย
ค่า pH < 7.25 ภาวะ คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง (PCO, > 55mmHg)
ภาวะพร่องออกซิเจน (PO, < 80mmHg)
การรักษา
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเพื่อช่วยการหายใจ หลักการของการช่วยหายใจพิจารณาจากความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน
การรักษาทางยา
การเลือกใช้ยาพิจารณาตามอาการของทารกแต่ละราย
กลุ่ม opioids ยาที่ใช้บ่อยคือ fentanyl
และกลุ่มยา benzodiazepam ยาที่ใช้บ่อยคือ midazolam
ยาทั้ง2 กลุ่มนี้ใช้ในกรณีเพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจนในร่างกาย
ในกรณีที่ทารกหายใจต้านเครื่องช่วยหายใจจนส่งผลให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซหรือปรับสมดุลกรด-ด่างในร่างกายได้ จะใช้ยา กลุ่ม muscle relaxants โดยยาที่ใช้บ่อยคือ pancuronium และ vecuronium
ในกรณีมีภาวะความดันในปอดสูงที่ส่งผลให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว จะใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด ยาที่ใช้บ่อยคือ nitric oxide ให้สารลดแรงตึงผิว
ในกรณีทารกมีภาวะหายใจล้มเหลว ให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อลดการ อักเสบของเนื้อเยื่อปอด
ภาวะสูดสำลักขี้เทา (meconium aspiration syndrome: MAS) หมายถึง ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด ส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจ ลำบาก พบบ่อยในทารกเกิดครบกำหนดและทารกแรกเกิดเกินกำหนดที่มีภาวะขาดออกซิเจนขณะอยู่ใน ครรภ์มารดา (Kinsella et al., 2012)
Persistent Pulmonary Hypertension of The New Born;PPHN
เป็นภาวะที่เกิดเนื่องจากทารกมีความต้านทานของหลอดเลือดปอดยังคงสูงอยู่ หลังเกิด ทารกแรกเกิดมีอาการเขียวเนื่องจากมีการรับเลือดจากหัวใจ ข้างขวาไป ซ้ายผ่าน ductus arteriosus และ foramen ovale ซึ่งยังเปิดอยู่เหมือนตอนอยู่ใน ครรภ์โดยไม่มีความพิการของหัวใจ
อาการและอาการแสดง
เขียว (cyanosis) จะรุนแรง ถ้าถูกรบกวนหรือ
เมื่อร้อง
บางรายพบ murmur
อาจพบการติดเชื้อ, hypothermia, Polycythemia หรือ Hypoglycemia ร่วมด้วย
การวินิจฉัย
มีภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia) หอบ หายใจเร็ว
หายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้งต่อนาทีข้ึนไป
ได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นว่าเป็น
กลุ่มอาการสำลัก ขี้เทา (meconium aspiration MAS)
ลมรั่วในช่องปอด (pneumothorax)
ปอดอักเสบแต่กำเนิด (congenital pneumothorax)
การติดเชื้อ (sepsis)
การขาดออกซิเจน ระหว่างคลอด (birth asphyxia) ตัวเย็น (hypothermia)
มีค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดไม่คงที่และ
พบมีความต่างของ preductal-postductal oxygen saturation มากกว่า 5-10% ขึ้นไป
Echocardiography การตรวจคลื่นสะท้อนหัวใจ
ตรวจพบการไหลเวียนเลือดลัดผ่าน ductus arteriosus หรอื foramen ovale ในทิศทางจากด้านขวาไปซ้าย (right to left shunt) ร่วมกับ right ventricular systolic pressure (RVSP) สูงกว่าเดิม
ไม่มีโรคหัวใจชนิดเขียวแต่กำเนิด (congenita cyanotic heart disease)
สาเหตุ
ภาวะขาดออกซิเจนตั้งแต่ในครรภ์หรือช่วงปริกำเนิด
ความผิดปกติในการพัฒนาของปอด ทําให้หลอดเลือดในปอดมีปริมาณลดลงเช่น Congenital pulmonary hypoplasia, ภาวะไส้เลื่อนย่อนกระบังลม (diaphragmatic hernia)
โรคของปอดเช่น RDS, pneumonia, MAS
โรคหัวใจพิการแต่ก่าเนิด
กล้ามเนื้อหัวใจทํางานผิดปกติจากภาวะขาดออกซิเจน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ความผิดปกติทางเมตาบอลิก
ภาวะติดเชื้อทั้งจากแบคทีเรียและไวรัส
ชนิดของ PPHN
Primary PPHN
แสดงอาการทันทีหลังเกิดเขียวและ Hypoxemia
Secondary PPHN
เกิดขึ้นเป็นผลจากมีโรคปอดเกิด pulmonary vasoconstriction metabolic acidosis ตามมา
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อทารกเริ่มหายใจระดับออกซิเจนที่สูงขึ้น
แรงต้านที่ปอดลดลง เลือดไปปอดมากขึ้น ระดับออกซิเจนสูง
ทําให้ PDA หดตัวและปิดและเมื่อตัดสายสะดือ systemic circulation จะถูกตัดออกจากรกที่มีความต้านทาน ความดันโลหิตสูงขึ้นทันที
ทําให้ความดันในหัวใจห้องขวาลดลงด้วย ทําให้การ ไหลลิตของเลือดจากขวาไปซ้ายน้อยลง
ทําให้ foramen ovale และ ductus arteriosas ปิดไปเองถ้าทารกไม่หายใจหรือขาดออกซิเจนจะไม่มีการปิดของ foramen ovale และ ductus arteriosas แรงดันในปอดยังสูง
บางครั้งสูงกว่าเลือดจะไหลลัดผ่าน foramen ovale และ ductus arteriosas ซึ่งมีแรงดันน้อยกว่าปอดทําให้ขาดออกซิเจนรุนแรง และ acidosis ซึ่งเติมเรียกว่า persistent fetal circulation
การรักษา
การรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจชนิดที่มีความถี่สูง
High frequency ventilation (HFV)
conventional mechanical ventilation (CMV)
ECMO ( Extracorporeal membrane oxygenation)เป็นเครื่องพยุงการทำงานของหัวใจและปอด
การหายใจด้วยก๊าซไนตริกออกไซด์(Inhaled nitric oxide; INO) ออกฤทธิ์ขยายเฉพาะหลอดเลือดแดงในปอด
แก้ไขภาวะเลือดเป็นกรด
การรักษาประคับประคองจนกว่าปอดของทารกจะกลับมาเป็นปกติ
การรักษาระดับความดันโลหิตโดย การให้ inotropic drugs
การให้ยา sedative ต่าง ๆ เพื่อให้ทารก สงบและไม่เกิดอาการเจ็บปวด
การใช้ยาขยายหลอดเลือดในปอดชนิด ต่างๆ ได้แก่ inhaled nitric oxide (iNO),
iloprost (prostaglandin I2 analogue),
milrinone (phosphodiesterase inhibitors),sildenafil, bosentan (endotherium receptors antagonist),
magnesium sulphate
*
ปัจจุบันประเทศไทยรักษาทารกท่ีมีภาวะ PPHN ด้วยเครื่อง ECMO และ iNO ซึ่งมีประสิทธิภาพดี สามารถเพิ่มอัตราการอดชีวิตให้แก่ทารกมากขึ้น