Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเก็บรวบรวมและการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็ก - Coggle Diagram
การเก็บรวบรวมและการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็ก
สาหร่าย
สังเคราะห์แสงได้ด้วยตนเอง
พบในที่มีความชื้น แต่จะพบมากในน้ำจืด น้ำเค็ม และน้ำกร่อย
สิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงหรือที่มีอุณหภูมิต่ำมาก
สาหร่ายขนาดเล็กมีทั้งพวกที่เป็นโปรแคริโอต
การเก็บรวบรวมสาหร่ายขนาดเล็ก
ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์
Algae isolation
เก็บตัวอย่างน้ำใส่ขวดเก็บตัวอย่าง เขียนสลาก
การเพาะเลี้ยงสาหร่าย
ใช้ plankton net (ถุงลากแพลงก์ตอน) กรองน้ำตัวอย่าง
การเพาะเลี้ยงสาหร่าย
แหล่งลิปิด วิตามิน รงควัตถุ ปุ๋ย และใช้ในด้านเภสัชกรรม รวมทั้งสารเคมีส้ำคัญอื่นๆ
มี 2 รูปแบบ ได้แก่ การเพาะเลี้ยงในบ่อเปิด และ การเพาะเลี้ยงโดยใช้ถังปฏิกรณ์
อาหารคน อาหารสัตว์
ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตสาหร่าย
การกวน
แสงและอุณหภูมิ
ความขุ่นของน้ำ
สีของน้ำ
สภาพความเป็นกรดด่าง
ความโปร่งใส
สารอาหาร
ปัจจัยการเจริญอื่น ๆ
การเก็บรวบรวมสาหร่ายขนาดใหญ่จากธรรมชาติ
ตัวอย่างสาหร่ายที่เก็บรวบรวมได้มีขนาดความยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร ทำการขนส่งสาหร่ายโดยบรรจุในถุงพลาสติกที่ภายในมีน้ำทะเล และใส่ในกล่องโฟมเพื่อควบคุมอุณหภูมิลำเลียงมาสถานที่ทดลอง
นำสาหร่ายที่รวบรวมได้ลอยไว้ในตะกร้าพลาสติกในถังไฟเบอร์กลาส ขนาด 500 ลิตร ที่มีน้ำทะเลความเค็ม 35 ส่วนในพัน ให้อากาศตลอดเวลา เป็นระยะเวลา 1 สัปดาหเพื่อปรับสภาพ สาหร่ายก่อนนำมาเพาะเลี้ยง
เก็บรวบรวมตัวอย่างสาหร่ายเขากวาง บริเวณป่าชายเลนซึ่งเป็นคลองธรรมชาติ
โดยรวบรวมจาก 2 แหล่งคือ 1. จากกระชังเลี้ยงปลาของเกษตรกร 2.จากริมคลองปาชายเลนบริเวณระดับน้้าขึ้น-ลง ที่มีลักษณะพื้นดินเป็นกรวดปนทรายและโคลน
ก่อนเริ่มการทดลองทำการเตรียมสาหร่ายที่มีความสมบูรณ์ไม่มีลักษณะเป็นสีขาวและยังไม่สร้างสปอร์ตัดสาหร่ายในน้ำเพื่อไม่ให้ของเหลวภายในสาหร่ายแพร่ออก ตามชุดทดลองที่วางแผนไว้
นำไปพักไวในตะกร้าในถังไฟเบอร์กลาสเพื่อใหสาหร่ายปรับสภาพอีกครั้งเปนเวลา 2 วัน
ชั่งน้ำหนักสาหร่ายสดที่ซับด้วยกระดาษให้แห้งลงเลี้ยงในอัตราส่วน 1 กรัม/น้ำ1 ลิตร
การศึกษาและการเก็บข้อมูล
ศึกษาลักษณะการเจริญเติบโตของสาหร่ายที่ขยายพันธุ์ด้วยส่วนต่าง ๆ ของ สาหร่ายโดยการสังเกตจดบันทึกและถายภาพ
การวิเคราะหคุณภาพน้ำ
เก็บตัวอยางน้ำเพื่อตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ำสัปดาห์ละครั้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพน้ำบาง ประการโดยมีพารามิเตอรดังนี้
ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
ค่าความเป็นดาง (Alkalinity)
ความเค็ม (salinity)
ออกซิเจนละลายน้ำ (DO)
ความเขมแสง : ทำการวัดความเข้มแสง ตอนเช้าเวลา 09.00 นาฬิกาและตอนบ่ายเวลา 15.00 นาฬิกา
ไนไตรท (Nitrite)
แอมโมเนียรวม (Total ammonia)
ออรโธฟอสเฟต (Orthophosphate)
ชั่งน้ำหนักสาหร่ายเริ่มต้นและสิ้นสุดการทดลองด้วยเครื่องชั่งไฟฟ้า 2 ต่ำแหน่งยี่หอ Oertling รุน OB 152-CY0ZA10A-M เพื่อหาอัตรการเจริญเติบโตจำเพาะหรือ Specific Growth Rate (SGR)