Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
1. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของวัยเตาะแตะ
• พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่
-ลักษณะของลกตัวจะยาวแต่แขนขาสั้นศีรษะค่อนข้างใหญ่
-เวลาเดินลักษณะคล้ายขาชิดและเท้าแบะ
-พัฒนาการด้านนทักษะการเดินจากที่ยืนเองได้เเละหัดเดินโดยเกาะราวเริ่มเมื่ออายุ 13-14 เดือน
-ช่วงอายุ15เดือนจะเดินได้ประมาณ2-3กา้ว
-พยายามวิ่งเมื่ออายุ18เดือน แต่มักจะหกล้มง่าย
-จะเดินและวิ่งได้ดีเมื่ออายุ 2 ปี ข้ึนลงบันไดได้เมื่ออายุ 2 ปี ครึ่ง
-มีพัฒนาการด้านการเดิน วิ่ง ปีน ป่าย กระโดดได้ดีเมื่ออายุ 3 ปี
•
พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก
-เมื่ออายุ11⁄2-2ปีการมองเห็นเการรับรู้ของภาพยังไม่ค่อยดีไม่สามารถกะระยะได้ดี
-ทักษะในการใช้มือเพิ่มข้ึนอายุ 13-14 เดือน สามารถถือก้อนไม้บล็อกทั้งสองมือข้างละ 2 ก้อนต่อ ก้อนไม้ ได้2-3ก้อน
-เมื่ออายุ11⁄2ปี เด็กสามารถจับถ้วยโดยใช้สองมือใช้ช้อนตักอาหารได้ จับปากการะบายสีแต่ยังไม่เป็นรูป และพลิกหนังสือได้ทีละหลายหน้า
-อายุ 2 ปี สามารถเขียนเป็นเส้นลากแนวตรงและดิ่งได้ วางบล็อกซ้อนกัน 3-4 ชิ้น ได้ เด็กอายุ 3 ปี มือและ นิ้วทำงานประสานกัน ได้ดีจะวาดวงกลมตามแบบได้ ต่อก้อนไม้ได้7-8ก้อน
2 . พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของวยั ก่อนเรียน
• พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่
-เด็กอายุ 3 ปี จะมีพัฒนาการด้านการเดินวิ่ง ปีน ป่ายกระโดดได้ดี ข้ึนลงบันไดได้ดี
-สามารถถีบจักรยานสามล้อได้เมื่อไดร้ับการฝึกหัด
-เด็กอายุ 4 ปี เดินข้ึนและลงบัน ไดได้ก้าวละ 1 ขั้น กระโดดด้วยขาข้างเดียวได้
-เด็กอายุ 5 ปี สามารถก้าวข้ึนบันไดทีละ 2 ขั้ต กระโดดสลับขาได้ และยืนขาเดียวได้นาน
• พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก
-เด็กอายุ3ปีสามารถเขียนลากเส้นตรงสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยมตามแบบได้ และวาดรูปคนที่มีอวัยวะร่างกาย มากกว่า 1 ส่วน
-อายุ5ปีวาดคนที่มีอวยัวะสําคัญของร่างกายได้
-อายุ 4-5 ปี เลือกเสื้อผ้า แต่งตัวเองได้ ใส่และถอดเสื้อผ้าเองได้
พัฒนาการด้านสติปัญญา
1. พัฒนาการดานสติปัญญาของวัยเตาะเเตะ
• สมองมีการสมองมีการเพิ่มขนาดประมาณร้อยละ 90 ของผู้ใหญ่
• myelinization ของไขสันหลังสมบูรณ์เท่าผู้ใหญ่
• ประสาทและการรับประสาทและการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสต่างๆดีขึ้น
• เป็นวัยที่มีพัฒนาการด้านภาษาพูดค่อนข้างเร็ว
• ช่วงเริ่มต้นของระยะพัฒนาการก่อนเกิดความคิดอย่างมีเหตุผล (Pre-conceptual please ) ตามทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของพียเจต์
• เชื่เชื่อว่าทุกอย่างในโลกมีมุ่งหมายจึงมักตั้งคำถามว่า “ทำไม”
• ไม่สามารถแยกแยะความจริงกับจินตนาการได้ชื่อว่าทุกสิ่งในชีวิต
• เชื่อมโยงปรากฏการณ์สองอย่างที่เกิดขึ้นพร้อมกันมาเป็นเหตุผล
2 . พัฒนาการด้านปัญญาวัยก่อนเรียน
เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วจินตนาการค่อนข้างสูง เด็กวัยน้ีจะอยู่ในพัฒนาการขั้นก่อนปฏิบัตการ (pre- operation stage) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังน้ี
1) ระยะก่อนมีมโนทัศน์( Preconceptional stage)
-เด็กมองว่าตนเองเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งในโลกนี้
-ไม่เข้าใจ ความคิดความรู้สึกของผู้อื่น
-เด็กจะมีภาพความจำเกิดข้ึนจากการเรียนแบบซ้ำๆ
-เชื่อว่าสิ่งของทุกอย่าง มีชีวิตมีความรู้สึก
2)ระยะนึกรู้ (intuitive stage)
-อายุ4-6ปีเด็กสามารถใช้สัญลกัษณ์แทนวัตถุ
-คิดว่าสิ่งท่ีไม่มีชีวิต ทุกสิ่งเป็นสิ่งมีชีวิตมีความรู้สึก
พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม
1 . พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมวัยเตาะแตะ
-เด็กเข้าใจว่าการทำดีคือสิ่งที่ทำแล้วไม่ถูกลงโทษ
-อายุอายุ 13 เดือนเริ่มเรียนแบบงานบ้านกลัวคนแปลกหน้า
-เดือนที่ 16 เริ่มแสดงอาการปฏิเสธโดยมักจะพูดว่า “ไม่”
-เมื่อครบสองปีก็มีความเป็นตัวของตัวเองยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง
-เมื่ออายุ 3 ปีช่วยทำงานบ้านได้ชอบออกคำสั่ง
2 . พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมวัยก่อนเรียน
-เด็กอายุ 3 ปีเล่นสมมติได้ แต่ยังแยกเรื่องจริงกับจินตนาการไม่ได้
-อายุ 5 ปีเด็กจะเรียนรู้ทักษะทางสังคมแบบผู้ใหญ่มากขึ้นเช่นรู้จักขอโทษ
-เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกที่ซับซ้อนขึ้น เช่นอิจฉา ภูมิใจ เขินอาย
-พัฒนาการด้านจิตสังคมของอีริคสันเด็กวัยก่อนเรียนจะมีพัฒนาการในขั้นพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และความรู้สึกผิด
-อายุ 3 ปีสามารถใส่เสื้อผ้าได้เองล้างมือเช็ดมือเป็น
-อายุ 4 ปีติดกระดุมเองได้
-อายุ 5 ปีแต่งตัวเองได้
พัฒนาการด้านภาษา
พัฒนาการด้านภาษาวัยเตาะแตะ
-มีพัฒนาการทางภาษาเร็วมาก
-อายุ 3 ปีจะได้ศัพท์ได้ถึง 1000 คำ
-เด็กอายุสามถึงสี่ปีพูดเป็นประโยคสั้นสั้นแต่เข้าใจความหมายออกคำสั่งง่ายๆได้
-เรียนรู้วิธีการเข้าสังคมด้วยการพูดถามคำถามจำพวกที่ไหน อย่างไร โดยเฉพาะทำไม
พัฒนาการด้านจริยธรรม
•เด็กวัย 3-6ปีสามารถแยกความแตกต่างของลักษณะและบทบาทของแต่ละเพศได้
•เด็กอาจสนใจสํารวจอวัยวะเพศหรืออวัยะอื่นที่บ่งบอกเรื่องเพศ
•วัย 6ปีเด็กจะยอมรับเพศของตนและแสดงบทบาททางเพศที่เหมาะสม
ปัญหาและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน
โรคติดเชื้อ
ยังเป็นปัญหาสุขภาพวัยเตาะแตะและวัย ก่อนเรียน เนื่องจากเป็นวัยที่เข้าสถานเลี้ยงเด็กกลางวันหรือโรงเรียนอนุบาลทำให้เด็กมีโอกาสสัมผัสเชื้อโรคตัวใหม่ความเจ็บป่วยที่พบในวัยน้ี คือโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและโรคติดเชื้อระบบทางเดินอาหารเช่นโรคหวัดโรคมือเท้าปาก(handfoot mouth disease) โรคปอดอักเสบ และโรคอุจจาระร่วง
ฟันผุ
เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนมักเป็นปัญหาที่ถูกละเลยเพราะถือว่าเป็นฟัน น้ำนมฟันน้ำนมจะเป็นฟันที่เด็กใช้งานไม่น้อยกว่า5-10ปีก่อนจะมีฟันแท้ขึ้นมาแทนที่ฟันน้ำนมของเด็กนั้น มีโอกาสผุได้ง่ายและลุกลามไวกว่าฟันแท้ เนื่องจากช้ันเคลือบฟันน้ำนมมีความบางกว่าฟันแท้ สาเหตุเกิด จากเชื้อS.mutans. และ Lactobacilli ซึ่งเป็น normal flora ในปาก ซึ่งมีปริมาณสูงข้ึนหลังจากการที่เด็ก เริ่ม ดื่มนมหรือบริโภคอาหารที่ประกอบด้วยแป้งและน้ำตาลและไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง
ไม่อยากรับประทานอาหาร
ปัญหาการกินไดแ้ก่ปัญหาเด็กกินยากไม่ยอมกินข้าวเบื่ออาหารกินช้า อมข้าว ฯลฯ เป็นปัญหาที่พบบ่อยในสังคมไทย อันเนื่องจากความไม่เข้าใจในพัฒนาการและธรรมชาติ การกิน ของเด็ก ในปัจจุบันพบปัญหาเหล่าน้ีมากข้ึนเรื่อย ๆ ทำให้เกิดความเครียดต่อทั้งผู้ปกครองและเด็กได้อย่างมาก และหากผู้ปกครองแกเไขปัญหาไม่ถูกต้อง ปัญหาน้ีก็จะทวีความรุนแรงมากข้ึนจนอาจทๆชำให้เกิดปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็กหรือปัญหาพฤติกรรมอื่นๆ
ภาวะทุพโภชนาการ
จากข้อมูลของสํานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ด้วยการสนับสนุนจากยูนิ เซฟ ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของเด็กในประเทศไทย โดยพบว่ามีเด็กอายุตกากว่า 5 ขวบ ถึงร้อยละ 16 ขาดสารอาหารเรื้อรัง คือ มีภาวะเตี้ยแคระแกร็นและขาดโภชนาการที่ดีของเด็กในประเทศไทยเป็นปัญหาที่น่าเป็นห่วง อย่างยิ่ง เพราะทกให้สมองของเด็กไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ซึ่งส่งผลเสียระยะยาวในด้านต่าง ๆ ของชีวิต เช่น ในด้านการการเรียน รายได้อนาคตของเด็ก นอกจากน้ียังลดทอนโอกาสการมีชีวิตรอดของเด็กและกีดขวางการเจริญเติบโตทางสุขภาพอย่างเหมาะสม
อุบัติเหตุและสารพิษ
เด็กวัยน้ีจะปีนป่ายเก่งวิ่งคล่องมีแรงพอจะเปิดประตูได้ เริ่มรู้จักอันตรายบางอย่างเช่นความร้อนจากไฟแต่ความอยากรู้อยากเห็นยังมีอิทธิพลเหนือการคิดพิจารณาเปิดประตูเข้าไปเล่น ในที่บางแห่งเช่นรถยนต์ ตู้เย็น ท่ีไม่ใช้แล้ว หรือห้องเก็บของปิดแล้วไม่สามารถเปิดออกได้อาจทำให้ขาดอากาศหายใจ ต้อไม้หรือที่สูงอื่นๆและอันตรายจากการปีนป่ายทำให้สิ่งของหล่นใส่หรือของหนักทับร่างกาย อาจถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวก สารพิษ อุบัติเหตุในถนนจากการวิ่งลงถนน ข้ามถนน หรือถีบจักรยานสามล้อในถนน อุบัติเหตุภายในรถยนต์
ปัญหาและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียนด้านสังคม
ความอิจฉา
ความรู้สึกอิจฉาน้องเป็นสิ่งที่พบได้ในเด็กวัยน้ีเนื่องจากเป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีน้องใหม่เด็ก กลัวว่าตนเองกหลังสูญเสียความรักจากบิดามารดา และอาจถูกทอดทิ้งบางคนแสดงออกถึงความอิจฉา อย่างชดัเจนด้วยการตีน้องหรือร้องไห้เมื่อเห็นแม่อุ้มน้อง
การหยิบของผู้อื่น
ด้วยธรรมชาติของเด็กเล็กจะหยิบของที่ตนเองต้องการ โดยมิได้แยกแยะว่าสิ่งนั้นเป็น ของตนเองหรือไม่ ดังนั้น คกว่าลักขโมยจึงไม่ควรนํามาใช้กับเด็กวัยก่อนเรียนที่หยิบของคนอื่น เพราะถือ เป็นพฤติกรรมปกติ
การพูดโกหก
พบได้ในเด็กวัย 5-6ปีเป็นวัยที่ชอบฟังนิทานและสร้างจินตนาการเด็กไม่สามารถ แยกแยะได้ว่าเรื่องใดเป็นเรื่องจริง และเรื่องใดเป็นจินตนาการ เด็กอาจพูดโกหกเพื่อต้องการคำชมเชย ชื่อเสียง โอ้อวด หรือหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ สาเหตุส่วนมากมาจากเด็กขาดความรักและความมั่นใจที่บ้าน
การกลัวไปโรงเรียน
เด็กวัยก่อนเรียนบางคนชอบไปโรงเรียนบางคนก็ไม่ชอบไปโรงเรียนอาจ แสดงออกได้หลายรูปแบบ เช่น ร้องไห้ หรืออาจแสดงออกทางร่างกาย เช่น มีอาการปวดศีรษะ ปวดท้อง อาเจียนอาการดังกล่าวมักปรากฏในช่วงเช้าก่อนไปโรงเรียนและจะหายไปเมื่อไดร้ับอนุญาตให้ไม่ไปโรงเรียนและจะไม่พบอาการในวันหยุด
พฤตกิรรมก้าวร้าว
พบได้ในเด็กเล็กเนื่องจากเด็กยังไม่สามารถรับรู้ได้ว่าการกระทำของตนเองทำให้ผู้อื่นนเจ็บปวด หรือเดือดร้อนอย่างไร ดังนั้นจึงมักพบว่าเด็กเล็กชอบจิกผม ข่วนหน้าตีหรือกัดคนที่ขัดใจ
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน
การป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคด้วยวัคซีน
การส่งเสริมดูแลรักษาสุขภาพฟัน
การส่งเสริมด้านโภชนาการ
การสร้างเสริมสุขลักษณะการนอนที่ดี
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
การปรับพฤติกรรมเด็กเจ้าอารมณ์
การสร้างเสริมวุฒิภาวะทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ)
การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
การพัฒนาการเล่น
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมทั่วไป
สอนให้ลูกมีสัมมาคารวะรู้จักทกความเคารพสวัสดีขอบคุณขอโทษสอนมารยาทในการรับประทาน อาหารแก่ลูก การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลาง ช้อนส้อม การเคี้ยวอาหาร การสอนให้ลูกรู้จักแบ่งปันของให้ผู้อื่นเมตตาสัตวเ์ลี้ยงเปิดโอกาสให้ลูกได้ฝึกทกงานบ้านส่งเสริมให้ลูกเล่นกีฬา