Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Severe preeclampsia, • ความดันโลหิตสูงครั้งแรก ขณะตั้งครรภ์
•…
Severe preeclampsia
-
-
ข้อมูลของผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์อายุ 29 ปี G1P0 อายุครรภ์ 39 +5 สัปดาห์ by date
อาการสำคัญที่มารพ. เจ็บครรภ์ 6 ชั่วโมงก่อนมารพ.
การวินิจฉัยโรค : Severe preeclampsia with Unfavorable cervix
- ซักประวัติ พบว่า
- ประวัติการเจ็บป่วยของตนเอง : ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยของตนเอง
- ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : บิดาเป็นโรคเบาหวาน มารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- ประวัติการผ่าตัด : ปฏิเสธประวัติการผ่าตัด
- การแพ้ยาแพ้อาหาร : ปฏิเสธการแพ้ยาและแพ้อาหาร
- การสูบบุหรี่หรือเสพยา : ปฏิเสธการสูบบุหรี่และการใช้สารเสพติด
- ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต : ปฏิเสธประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
- ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน :
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์น้ำหนัก 55 กิโลกรัม ส่วนสูง 155 เซนติเมตร
BMI 22.89 kg/m2
น้ำหนักขณะตั้งครรภ์ 68.9กิโลกรัม total weight gain 20.9 กิโลกรัม เพิ่มมากกว่าปกติ
• เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ GDMA1
• ภรรยาและสามีไม่เป็นคู่เสี่ยงโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง
(ภรรยา :Hb E trait, สามี :Hb A2A w/ abnormal Hb)
GDMA1
พยาธิสภาพ
- ระยะแรกของการตั้งครรภ์ estrogen และ progesterone จากรกมีฤทธิ์กระตุ้น beta cell ของตับอ่อน
- ทำให้มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้น ระดับ FBS ต่ำกว่าก่อนตั้งครรภ์
- ระยะหลังของการตั้งครรภ์ฮอร์โมนจากรกจะสร้างมากขึ้น มีภาวะต้าน insulin เป็นปัจจัยสำคัญ
- HPL ที่เพิ่มขึ้น ร่วมกับ Prolactin, Cortisal, Glucagon ทำให้ความดื้อต่อ insulin มีมากขึ้น (Diabetogenic effect) ร่วมกับความต้องการ insulinที่เพิ่มมากขึ้น จึงเกิดเป็นเบาหวาน
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
- เบาหวานที่เป็นก่อนตั้งครรภ์ (over DM)
- เบาหวานที่วินิจฉัยได้ในระยะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 24 - 28 weeks.
ชนิด
หมายถึง โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารมีค่าต่ำกว่า 95 mg/dL
และระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง มีค่าต่ำกว่า 120 mg/dL
โดยทั่วไปภาวะ GDMA1 หมายถึงภาวะที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้โดยการควบคุมอาหารแต่เพียงอย่างเดียว
-
หมายถึงภาวะ GDM ที่ไม่สามารถ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
โดยการควบคุมอาหารแต่เพียงอย่างเดียวจำเป็นต้องให้การรักษาเพิ่มเติมด้วยการฉีดยาอินซูลิน
-
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
- เคยคลอดทารกตัวโตน้ำหนักตัวมากกว่า 4000 กรัม
- การมีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน
- มีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ครั้งก่อน
- มีประวัติทารกตายในครรภ์ หรือคลอดทารกเสียชีวิต
- มีประวัติคลอดทารกพิการโดยไม่ทราบสาเหตุ
-
..........
ชนิด
Gestational hypertension
- พบ BP สูง GA > 20 wks.
- ไม่มี Urine albiumin.
- ความดันโลหิตกลับสู่ค่าปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
- การวินิจฉัยจะทำได้หลังคลอดแล้วเท่านั้น
Preeclampsia
-
severe preeclampsia
-
- Protein urea>= 2gm.
- เก็บปัสสาวะ หรือ dipstick >= 2+
- มีอาการตาพร่ามัว/อาการทางสายตา
- ปวดหัว โดยไม่ตอบสนองต่อยา/ไม่ได้ปวดจากโรคอื่นๆ
- จุกแน่นลิ้นปี่
-
-
-
BP 148/101
AST 120, ALT 286 มากกว่าค่าปกติ
mild preeclampsia
- มารดา -
ตรวจผลทางห้องปฏิบัติการ
- CBC with platelet count
- creatinine
- LDH
- AST
- ALT
- proteinuria
- ทารก -
- คลื่นเสียงความถี่สูงประเมินน้ำหนักทารก
- ปริมาณน้ำคร่ำ
- ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
พิจารณาให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอกหรือรับไว้ในโรงพยาบาลตามความเหมาะสม
-
-
- ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ทุก 3-4 สัปดาห์
- ปริมาณน้ำคร่ำทุกสัปดาห์และตรวจประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
-
-
-
-
-
HELLP Syndrome
-
-
LP : low platelet
-
PT, PTT, bleeding time ปกติ
-
กรณีศึกษา
- LDH 334
- PBS ตรวจแต่ไม่มีผล
- AST 120, ALT 286 มากกว่าปกติเกินสองเท่า
- Plt 159000
-
-
-
- 1 วันก่อนมารพ. มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด ลูกดิ้นน้อยลง
- 6 ชม.ก่อนมารพ. มีอาการเจ็บครรภ์ทุก 30 นาที 1 ครั้ง (ครั้งละ30วินาที)
มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด ลูกดิ้นมากกว่า10ครั้ง/วัน
ไม่มีน้ำเดิน ไม่ปวดศีรษะ ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีบวมที่มือและเท้า
• ความดันโลหิตสูงครั้งแรก ขณะตั้งครรภ์
• เกิดในช่วงหลังGA 20 สัปดาห์ขึ้นไป
• ความดันโลหิตลดสู่ภาวะปกติ ภายใน12สัปดาห์หลังคลอด
• BP ≥ 140/90 mmHg.
-
-
-
-
แนะนำให้ยาลดความดันโลหิต
ในรายที่ความดันโลหิตยังคงสูง
- ความดันโลหิต systolic160 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า
- ความดันโลหิต diastolic 110 มิลลิเมตรปรอทหรือมากกว่า
-
-