Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System, BB08DF2F-E300-45AE-8262-F1DF69B0F987, CA04DE56-AF6C-4B62…
Endocrine System
บทนำระบบต่อมไร้ท่อ (Introduction to Endocrinology)
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Hormone synthesis)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมใต้สมอง
(Pituitary hormones and their control by Hypothalamus)
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และHypothalamus
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
• Neurohypophysis
• Antidiuretic hormone (ADH)
• Oxytoci
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
• Adenohypophysis
• Growth hormone (GH) • Prolactin (PRL)
• Adrenocorticotropin (ACTH)
• Thyroid-stimulating hormone (TSH)
• Follicle stimulating hormonr(FSH)
• Luteinizing hotmone(LH)
• Interstitial cell-stimulating hormone (ICSH)
• Melanocyte-stimulating hormone (MSH)
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า(Anterior pituitary gland หรือ Adenohypophysis)
ฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต (Growth hormone, GH)
Protein hormone
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
เซลล์ไขมนั, กระดูก, กล้ามเนื้อ, ประสาท, ภูมิคุ้มกัน และตับ
หน้าที่
กระตุ้นกระบวนการต่าง ๆ ที่ส่งผลในการเพิ่มการเจริญเติบโตของเซลล์ ร่างกาย
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต (Growth hormone and its disorders)
GH↑ → Gigantism
พบในเด็กเลก็ เนื่องจากการหลั่ง GH มากกว่าปกติ
GH↑ →Acromegaly
เกิดความผิดปกติของกระดูกตามบริเวณ ใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า มีขนาดใหญ่กว่าปกติ
GH↓ →Pituitary dwarfism
พบในวยัเด็ก เนื่องจากการขาด GH ทำให้ ร่างกายเตยี้แคระ
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไต (Adrenocorticotropic hormone , ACTH/ Corticotropin)
Peptide hormone
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงาน ของต่อมหมวกไต
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
ต่อมหมวกไตชั้นนอก(Adrenal cortex)
ฮอร์โมนเพศ (Follicle-Stimulating hormone, FSH และ Luteinizing hormone, LH)
Glycoprotein hormone
หน้าที่
เพศชาย
กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมน Testosterone
เพศหญิง
กระตุ้นการสงัเคราะห์ฮอร์โมน Estrogen และการ เจริญเติบโตของไข่ ทำให้ไข่สุก และมีการตกไข่
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
เพศชาย
Interstitial cells/Leydig cells →Testosterone production
เพศหญิง
Follicle →Estrogen production →Ovulation
หน้าที่
เพศชาย
กระตุ้นการเจริญของอสุจิภายในอณัฑะ ทำให้มีการ สร้างอสุจิ
เพศหญิง
กระตุ้นการเจริญของไข่ในรังไข่ ท าให้มีการพัฒนาไข่ ใหส้มบูรณ์
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
เพศชาย
Sertoli cells →Spermatogenesis
เพศหญิง
Follicle →Follicular growth
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมน้ำนม (Prolactin, PRL)
Peptide hormone
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
ต่อมน้ำนม (Mammary glands)
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและ ควบคุมการทำงานของต่อม น้ำนม เพื่อให้มีการสร้างน้ำนม (Lactation)
ฮอร์โมนกระตุ้นเซลล์เม็ดสี (Melanocyte-stimulating hormone, MSH)
Peptide hormone
หน้าที่ กระตุ้นการการสร้างเม็ดสี เมลานินบนผวิหนงั (Melanogenesis)
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย เซลลเ์มลาโนไซต์ (Melanocytes)
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (Thyroid-stimulating hormone, TSH/ Thyrotropin)
Glycoprotein hormone
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุม การทกงานของต่อมไทรอยด์
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
ต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลงั(Posterior pituitary gland หรือ Neurohypophysis)
ฮอร์โมนออกซิโทซิน (Oxytocin)
Peptide hormone
หน้าที่
มีผลโดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของมดลูกและเต้านม โดยกระตุ้นการหลั่งน ้ำนม, กระตุน้การคลอด
การกระตุ้นที่สำคัญ
คือ การดูดนม (Sucking reflex) การแตะสมัผัสด้านจิตใจ
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม
ฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย (Antidiuretic Hormone ,ADH)
Peptide hormone
หน้าที่
กระตุ้นการดูดน้ำกลับ เพื่อรักษาสมดุลของน้ำ
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย
ท่อไตรวม (Collecting duct)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนระบบสืบพันธุ์ (Reproductive hormones)
อวัยวะสืบพันธุ์และรก(Gonads and Placenta)
เพศชาย(Male)
Testes →Leydig cells →Testosterone
กระตุ้น Secondary sex characteristics
ควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุน้กระบวนการ Spermatogenesis
เพศหญิง(Female) Ovary →Follicle →Estrogen
กระตุ้น Secondary sex characteristics
ควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุน้กระบวนการ Ovulation
Ovary →Corpus luteum →Progesterone
กระตุ้นการพฒันาของเต้านมและมดลูกเพื่อรองรับการ ตั้งครรภ์และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย
จัดเป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวที่ร่างกายผู้หญิงสร้างขึ้นเพื่อการตั้งครรภ์
สังเคราะห์ฮอร์โมนที่จำเป็น 3ชนิดได้แก่
ฮอร์โมน hCG→ กระตุ้น corpus luteum ให้ผลติฮอร์โมน 2 ชนิด
ฮอร์โมน Progesterone → รักษาความหนาของเยื่อบุมดลูก
ฮอร์โมน Estrogen →พัฒนาเต้านมและกล้ามเนื้อมดลูก
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid hormones)
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid hormone and its disorders)
แคลซิโทนิน(Calcitonin)
Peptide hormone
Amine hormone
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormones)
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormone, PTH)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทโมซิน (Thymosin hormones)
ต่อมไทมัส(Thymus gland)
ต่อมอยู่ระหว่างกระดูกหน้าอกกับหลอดเลือด Aorta
วางตัวอยู่ด้านหน้าและปกคลุมอยู่ทางด้านบนของหัวใจ
ประกอบด้วย 2 lobes คือ Right lobe และ Left lobe
หลงั่ฮอร์โมน Thymosin ทำหน้าที่พฒันา T-cells และควบคุม การทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมหมวกไต (Adrenocortical hormones)
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ส่วน Adrenal medulla →Epinephrine & Norepinephrine →กระตุ้นการทำงานของระบบSympathetic nervous system
ส่วนAdrenal cortex แบ่งได้ 3 ช้ัน
Zona glomerulosa → ฮอร์โมน Aldosterone → รักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่(Na+retention at Collecting ducts)
Zona fasciculata → ฮอร์โมน Cortisol → รักษาสมดุลในระบบเมตาบอลิซึมของน า้ตาล (Glucose metabolism)
Zona reticularis → ฮอร์โมน Androgen →ควบคุมลักษณะทางเพศ (Masculinization)
กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing's syndrome)
กลุ่มอาการของโรค Cushing's syndrome
หนา้กลม (Moon face)
คอมีหนอกยนื่ (Buffalo hump)
แก้มแดง (Plethora)
ผิวบาง (Thin skin)
หน้าท้องมีรอยแตก (Striae)
ภาวะขาดประจา เดือน (Amenorrhea)
เกิดแผลได้ง่ายและภูมิคุ้มกันตก
สาเหตุ
มักเกิดจากการมีเนื้องอกที่ต่อมใต้สมอง ทำ ใหม้ีการสร้าง ACTH ไปกระตุน้Adrenal cortex (Zona fasciculata)อย่างต่อเนื่อง ทำให้มีการสร้าง และหลั่งฮอร์โมนCortisolมากขึ้น จนทำให้เกิด ความผิดปกติ
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin hormone
ต่อมไพเนียล อยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรง สมองที่ 3 (Third ventricle)
หลั่งฮอร์โมน Melatonin ท าหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นและ การหลับของมนุษย์
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนตับอ่อน (Pancreatic hormones)
ตับอ่อน (Pancreas)
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus, DM)