Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การ วิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 13 การ วิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
13.1 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
13.1.2 ประเภทของการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจำแนกประเภทของการประเมินตามลำดับเวลาการบริหารแผนโครงการ
2 การดำเนินระหว่างดำเนินแผน
3 การประเมินหลังสิทธิ์สิ้นสุดแผน
1 การประเมินก่อนดำเนินแผน
การจำแนกประเภทของการประเมินตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
2 เพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติและกระบวนการดำเนินการ
3 เพื่อเพิ่มหรือลดกลยุทธ์หรือเทคนิคบางประการ
1 เพื่อตัดสินใจว่าควรดำเนินการต่อไปหรือหยุดดำเนินการแผน
4 เพื่อจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนโครงการที่มีการแข่งขันด้านการใช้ทรัพยากร
5 เพื่อยอมรับปฏิเสธทางทฤษฎี ดังนั้น จึงจำแนกการประเมินออกได้เป็น 2 ประเภทตามวัตถุประสงค์ของการประเมินคือ
1 การประเมินความก้าวหน้าของแผน
2 การประเมินผลสรุปรวมของแผน
การจำแนกประเภทของการประเมินตามเนื้อหาการประเมิน
3 การประเมินกระบวนการ
4 การประเมินผลผลิตหรือผลงาน
2 การประเมินปัจจัยเบื้องต้น
1 การประเมินบริบทหรือสภาพแวดล้อม
การจำแนกประเภทของการประเมินตามสิ่งที่เป็น
หลักยึดในการประเมิน
1 การประเมินอิงอิงวัตถุประสงค์เป้าหมายของแผนหรือโครงการ
2 การประเมินที่ไม่อิงวัตถุประสงค์เป้าหมายแผนหรือโครงการ
13.1.3 รูปแบบการประเมิน
รูปแบบการประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย
2 รูปแบบการประเมินของ
3 รูปแบบการประเมินแบบวัดความสำเร็จแบบสมดุล
1 รูปแบบการประเมินของไทเลอร์
รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่ารูปแบบประกันประเมินของสเต็ก
รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินใจรูปแบบการประเมินผลของบีม
13.1.1 ความหมาย ความสำคัญและขอบเขตของการประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายของการประเมินและการวิจัยเชิงปริมาณ การประเมินเป็นการประเมินโดยนำข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งต่างๆซึ่งมักเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพมาตีค่าเป็นตัวเลขให้สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมขณะนั้นการประเมินผลเป็นคำที่ใช้รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ส่วนความหมายขึ้นอยู่กับว่าผู้ให้ต้องการเน้นประเด็นใด Stufflebeam&Shinkfield ได้ให้ความหมายของการประเมินผลโดยเน้นการประเมินผลโครงการไว้ว่าการประเมินผลโครงการเป็นกระบวนการแสวงหาการพัฒนาการได้มาซึ่งข้อมูลตลอดจนการเตรียมข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจและแสวงหาทางเลือกที่เหมาะสมในการดำเนินโครงการการประเมินผลทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรหมายถึงกระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างเป็นระบบโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อถือได้และเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรซึ่งจะรวมถึงการกำหนดมาตรฐานเพื่อใช้ตัดสินคุณภาพการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องและการเปรียบเทียบข้อมูลสารสนเทศที่ได้กับมาตรฐานที่กำหนดไว้
ความสำคัญของการประเมินทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 ช่วยให้ทราบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความก้าวหน้าความสำเร็จและผลกระทบต่างๆของการดำเนินการตามแผนงาน
3 ช่วยให้เหตุผลชี้แจงข้อโต้แย้งเพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่างผู้ร่วมงานและผู้เกี่ยวข้อง
1 ช่วยให้ได้ข้อมูลข่าวสารสารสนเทศเกี่ยวกับสภาวะการณ์ต่างๆ
4 ช่วยให้ทราบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินตามแผนงาน
5 ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแผนงาน
7 ช่วยให้แผนหรือโครงการมีความน่าเชื่อถือและอาจเป็นข้อกำหนดของแหล่งทุนสนับสนุน
6 ช่วยให้ทราบถึงประโยชน์และข้อบกพร่องของแผนโครงการ
ขอบเขตการประเมินทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3 การประเมินประสิทธิผลของการดำเนินงาน
4 การประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
2 การประเมินการดำเนินงานตามโครงการ
5 การประเมินผลกระทบของการดำเนินงาน
1 การประเมินวัตถุประสงค์
6 การประเมินผลการดำเนินงานทั้งหมดพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ
13.2 แผ่นแบบและกระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
13.2.1 แผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
การออกแบบองค์ประกอบการวิจัยเชิงประเมินที่ถูกกำหนดโดยแบบแผนแบบการวิจัยเชิงประเมิน
2 การออกแบบการสุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมูล
3 การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลแบบของแผนการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผ่นแบบทดลอง
2 การวิจัยเชิงประเมินโดยใช้แผนแบบไม่ทดลอง
1 การออกแบบการวัดตัวแปรหรือประเด็นการประเมิน
13.2.2 กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
ศึกษารายละเอียดของแผนโครงการที่จะทำการประเมิน
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการประเมิน
ระบุหลักการและเหตุผลของการประเมิน
กำหนดกรอบแนวคิดแบบและรูปแบบการวิจัยเชิงประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินหรือเปรียบเทียบและพัฒนาเครื่องมือ
เก็บข้อมูลกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลจัดทำรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
13.3 ตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
13.3.2 ลักษณะของค่าตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
ตัวชี้วัดที่เป็นจำนวน
1 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรที่มีฐานะยากจน
2 รายได้ของครัวเรือนเกษตรกร
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าเฉลี่ย
2 จำนวนหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนเกษตรกร
3 ราคาเฉลี่ยสินค้าเกษตร
1 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนเกษตรกร
ตัวชี้วัดที่เป็นสัดส่วน
ตัวชี้วัดที่เป็นค่าร้อยละ
ตัวชี้วัดที่เป็นอัตราส่วน
ตัวชี้วัดที่กำหนดเป็นคะแนน
13.3.3 การจัดทำตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของแผนโครงการ
2 ด้านสังคม
3 ด้านสิ่งแวดล้อม
1 ด้านเทคนิค
4 ด้านการเงิน
5 ด้านการตลาด
6 ด้านเศรษฐกิจ
7 ด้านบริหารโครงการ
การจัดทำตัวชี้วัดเพื่อติดตามประเมินผลแผนโครงการ :
2 เรื่องกิจกรรมหลักหรือภารกิจหลักที่จะต้องทำการประเมิน
3 กำหนดประเด็น
1 วิเคราะห์ข้อมูลของแผนโครงการ
4 กำหนดตัวชี้วัด
5 กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน
6 วางระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
7 จัดเก็บรวบรวมข้อมูลตัวชี้วัด
8 คำนวณค่าดัชนีหรือตัวชี้วัด
เกณฑ์การพิจารณาค่าของตัวชี้วัดโดยทั่วไปอาจเปรียบเทียบกับค่าใดค่าหนึ่งต่อไปนี้
2 เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดหรือมาตรฐานสากลระหว่างประเทศ
3 เปรียบเทียบกับช่วงเวลาที่ผ่านมา
4 เปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นกลุ่มอื่นๆ
1 เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดในแต่ละช่วงเวลา
13.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับตัวชี้วัดในการวิจัยเชิงประเมิน
ในการประเมินผลตัวชี้วัด บางครั้งเรียกว่า ตัวชี้นำ เครื่องชี้วัด ดัชนีตัวบ่งชี้หมายถึงเครื่องมือหรือสิ่งที่บ่งบอกถึงความก้าวหน้าและความสำเร็จหรือไม่สำเร็จของกิจกรรมหรือกระบวนการดำเนินงานเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดในมิติต่างๆทั้งในเชิงปริมาณเชิงคุณภาพประสิทธิภาพหรือประสิทธิผล
องค์ประกอบในการจัดทำตัวชี้วัดแผนโครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 ประเด็น
3 ตัวชี้วัด
1 มิติ
4 ตัวแปร
5 แหล่งข้อมูลและวิธีการได้มาของข้อมูล
6 เกณฑ์การพิจารณา
7 หน่วยงานที่รับผิด
ประเภทของตัวชี้วัดแผนโครงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า
3 ตัวชี้วัดกระบวนการ
1 ตัวชี้วัดการบริหารจัดการโครงการ
4 ตัวชี้วัดผลผลิตหรือผลการดำเนินงาน
5 ตัวชี้วัดผลลัพธ์
6 ตัวชี้วัดผลกระทบ
คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่ดีสำหรับการวิจัยเชิงประเมิน
2 มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน
3 มีความจำเพาะเจาะจง
1 มีความเที่ยงตรง
4 มีระบบจัดเก็บข้อมูลที่ดี
5 เป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง
13.4 การวิจัยเชิงประเมิน
13.4.1 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
แหล่งข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 บันทึกต่างๆขององค์กร
3 อนุกรมสถิติทางราชการ
1 บุคคล
การเก็บรวบรวมข้อมูลกับขั้นตอนต่างๆของการวิจัยเชิงประเมินในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 การเก็บรวบรวมข้อมูลกับกรอบแนวคิดการวิจัยและสมมติฐาน
3 การเก็บรวบรวมข้อมูลกับเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
1 การเก็บรวบรวมข้อมูลกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมิน
4 การเก็บรวบรวมข้อมูลกับการรายงานผลการวิจัย
การเลือกวิธีการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 คุณสมบัติของประชากรที่ศึกษา
3 ระยะเวลาที่ศึกษา
1 วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมิน
4 งบประมาณและบุคลากร
การวิเคราะห์ข้อมูล
3 ที่มาของข้อมูลของตัวชี้วัด
4 คุณสมบัติของตัวชี้วัด
2 ตัวชี้วัดวัตถุประสงค์แต่ละข้อ
5 สถิติที่ใช้ในการพัฒนาและวิเคราะห์ข้อมูล
1 วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมินแต่ละข้อ
13.4.2 การเขียนรายงานผลการวิจัยเชิงประเมิน
สาระสำคัญซึ่งต้องกล่าวถึงในรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
2 ความสามารถในการบริหารจัดการแผนโครงการให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด
3 ประสิทธิผลของการบริหารแผนโครงการ
1 ความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตามแผนโครงการ
4 ผลกระทบของแผนหรือโครงการ
5 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ประเภทของรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
2 รายงานฉบับวิชาการโครงสร้างของรายงานการวิจัยเชิงประเมิน
2 ส่วนเนื้อเรื่อง
3 ส่วนอ้างอิง
1 ส่วนนำ
1 รายงานฉบับสำหรับผู้บริหารและผู้วางนโยบาย