Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาคปฎิบัติ, ชื่อ นางสาว พิมภา พบร่มเย็น 16315198 สาขา…
การประเมินภาคปฎิบัติ
ขั้นตอนการประเมินภาคปฏิบัติ
4.สร้างเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 1) หัวข้อการประเมิน 2) เกณฑ์การให้คะแนน 3) เกณฑ์การประเมิน
5.ตรวจสอบหาคุณภาพของเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 1) ความตรง 2) ความเที่ยง
3.กำหนดรูปแบบของเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
6.จัดพิมพ์เครื่องมือและคู่มือฉบับสมบูรณ์
2.เลือกจุดประสงค์ที่สามารถสร้างเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
1.วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวัง
รูปแบบการวัดภาคปฎิบัติ
การทดสอบภาคปฏิบัติจากสถานการณ์จำลอง (Simulated Situation Performance)
เป็นการกำหนดสถานการณ์ขึ้นมาให้คลายคลึงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด
การทดสอบจากตัวอย่างงาน (work sample performance)
เป็นการทดสอบการปฏิบัติจากตัวอย่างงาน หรือสถานการณ์จริงที่ครูต้องคอยกำกับดูแล
การทดสอบภาคปฏิบัติโดยให้ระบุชื่อ (Identification Test)
ระบุชื่อ เครื่องมือ หรือชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่าง ๆ พร้อมทั้ง ระบุหน้าที่ของสิ่งเหล่านี้ด้วย รวมทั้ง ความสามารถในการใช้และเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน
การทดสอบจากสถานการณ์จริง (authentic performance)
ป็นการให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติงานจากสภาพจริง หรือคล้ายจริงมากที่สุด เพื่อต้องการให้ผู้เรียนได้มี ทักษะในการปฏิบัติ
การทดสอบภาคปฏิบัติงานด้วยข้อเขียน (Paper and Pencil Performance Test)
เน้นในการประยุกต์ความรู้และทักษะ ที่เรียนมา มาประยุกต์กับสถานการณ์ใหม่
เครื่องมือในการประเมินภาคปฏิบัติ
แบบตรวจสอบรายการ
เป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ซึ่งอาจแยกรายการย่อยของการปฏิบัติออกเป็น ขั้นเตรียม ขั้นปฏิบัติ ขั้นผลผลิต โดยอาศัยการสังเกตในการประเมินแต่ละรายการ
มาตรประมาณค่า
เป็นรายการประเมินที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
จุดอ่อน คือ เกณฑ์การให้ คะแนนขาดความเป็นปรนัย คือ ผู้เรียนที่มีความสามารถ
เท่ากันอาจได้รับผลการ ประเมินที่ไม่เท่ากัน
แบบทดสอบภาคปฏิบัติ
สถานการณ์จำลอง หรือสถานการณ์จริงที่ให้ผู้สอบได้ปฏิบัติ การประเมินสามารถประเมิน จากกระบวนการที่เป็นวิธีการในขั้นตอนต่าง ๆ ของการปฏิบัติ หรือจากผลงานที่เป็นผลผลิตของ กระบวนการก็ได้
การให้คะเเนนแบบรูบริค
องค์ประกอบของเกณฑ์การประเมิน
ประเด็นที่ะประเมิน
2.ระดับความสามารถ
3.คำอธิบายเเต่ละระดับความสามารถ
ชนิดของเกณฑ์การประเมิน
การประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric)
กำหนดแนวทางการให้คะแนน โดยพิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงาน โดยจะมี คำอธิบายลักษณะของงานในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน มีประโยชน์ในการใช้ประเมินการ ปฏิบัติงานที่มีกระบวนการซับซ้อนมากๆ เกินกว่าจะแยกแยะเป็นด้านต่างๆ ได้
การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric)
กำหนดแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละส่วนของงาน ซึ่งแต่ละส่วน จะต้องกำหนดแนวทางการให้คะแนนโดยมีคำนิยามหรือคำอธิบายลักษณะของงานในส่วน นั้นๆ ในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และกำหนดน้ำหนักคะแนนของแต่ละส่วนแยกจากกัน มี ประโยชน์ในการประเมินสิ่งที่คาดหวังจากงานเป็นด้านๆ และทำให้รู้ว่าต้องแก้ไขปรับปรุงจุดใด
ลักษณะการประเมินภาคปฏิบัติ
การประเมินจากโครงการ(Process)
(สังเกต) ขณะกำลังปฏิบัติหน้าที่
ประเมินจากกระบวนการเเละผลงาน (Product & Process)
(สังเกต) ขั้นตอนปฏิบัติงาน + ผลงานจากการปฏิบัติงาน
ประเมินจากผลงาน (Product)
(สังเกต) ชิ้นงาน
ชื่อ นางสาว พิมภา พบร่มเย็น 16315198 สาขา สังคมศึกษา