Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา - Coggle Diagram
กรณีศึกษา
การพยาบาลผู้คลอดที่ต้องได้รับให้ยาป้องกันการชักตามแผนการรักษา ต้องปฏิบัติ อย่างไรบ้าง
ก่อนให้ยา
รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกราย
ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด ติดตามสังเกตอาการและอาการแสดงของ PIH ทุกวัน
ให้ผู้ป่วยพักผ่อน (bed rest) ไม่จำเป็นต้องให้ยากล่อมประสาท
ชั่งน้ำหนักทุก 2 วัน
วัดความดันโลหิตทุก 6 ชั่วโมง
เก็บปัสสาวะตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อตรวจหาโปรตีน (ควรหาอย่างน้อย 3 วัน)
ทดสอบการทำงานไต (ระดับ creatinine) ส่วนการทำงานของตับให้พิจารณาเลือกทำเป็น ราย ๆ ไป
ประเมินอายุครรภ์ของทารก และตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ โดยการนับลูกดิ้นอย่างถูกวิธี
รับประทานอาหารธรรมดา บันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับและขับออกในแต่ละวัน
สนับสนุนและประคับประคองด้านจิตใจ
ขณะให้
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย เช่น เช็ดตัว ประคบด้วยผ้าเย็นหรือกระเป๋าน้ำแข็งเพื่อบรรเทา อาการร้อนวูบวาบตามร่างกายจากการได้รับยา Magnesium sulfate
Maintain electronic fetal monitoring เพื่อประเมิน fetal status
Monitor RR, DTR, BP
ประเมินอาการ magnesium toxicity เช่น absent DTR, RR < 14 /min
Monitor intake and output โดยเฉพาะรายที่มี decreased renal function
เตรียม 10% Calcium gluconate กรณีฉุกเฉิน
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลข้างเคียงของยาและความสำคัญของการนอนพัก (bed rest)
Monitor magnesium level (Therapeutic serum level 4.8-8.4 mg/dl)
เฝ้าติดตามอัตราการหายใจ, deep tendon reflex และ urine output ทุก 4 ชั่วโมง หากมีอาการแสดงจากพิษของ Magnesium sulfate ให้พิจารณาหยุดยา เจาะเลือดหาระดับ magnesium ใน ซีรั่ม และให้ calcium gluconate ทันที
หลังให้ยา
วัดความดันโลหิตทุก 15 นาที จนกระทั่งคงที่ เปลี่ยนเป็นทุก 1 ชั่วโมง จนคลอด เพื่อติดตาม และ ประเมินความรุนแรงของโรค
2.เตรียมและให้ยาแคลเซียมกลโูคเนททางหลอด เลือดดำ กรณีผู้ป่วยมีอาการแสดงของการเป็น พิษจากยา แมกนีเซียมซัลเฟต
ผู้คลอดรายนี้ เกิดภาวะ pre-eclampsia ระดับใด
ชนิดรุนแรงน้อย (Mild PIH)