หน่วยที่ 9 สถิติอนุมานสำหรับการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร

9.1 การทดสอบความแตกต่าง

9.1.1 การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว

9.1.2 การทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร

9.2 การทดสอบใช้ไควสแควร์ Square

9.2.1 การทดสอบความเป็นอิสระ

9.2.2 การทดสอบสัดส่วน

9.3 การวัดความสัมพันธ์โดยสหสัมพันธ์

9.3.2 สหสัมพันธ์อย่างง่าย

9.3.3 สหสัมพันธ์เชิงส่วน

9.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปร

9.4 การวิเคราะห์การถดถอย

9.4.2 การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย

9.4.3 การวิเคราะห์การถดถอยพหุ

9.4.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์การถดถอย

1 การทดสอบสมมติฐานทางเดียว

9.1.2 การทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของ 2 ประชากร

วิธีวัดขนาดของความสัมพันธ์ของตัวแปรมีอยู่หลายวิธีแต่ละวิธีให้ผลลัพธ์ที่ไม่แตกต่างกันแต่ผลลัพธ์จะมีคุณสมบัติแตกต่างกันแบ่งเป็น 3 วิธี

1 การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย

ความหมายของการวิเคราะห์การถดถอย

1 การประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุ

3 การประมาณค่าสัมประสิทธิ์แห่งการตัดสินใจของสมการถดถอยพหุ

4 การพยากรณ์ค่าตัวแปรตามของสมการถดถอยพหุ

2 การทดสอบนัยยะสำคัญของค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุ

ประเภทของการวิเคราะห์การถดถอย

1 การประมาณค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยอย่างง่าย

2 การทดสอบนัยยะสำคัญต่อสัมประสิทธิ์การถดถอยอย่างง่าย

3 การประมาณค่าสัมประสิทธิ์แห่งการตัดสินใจ

4 การพยากรณ์ค่าตัวแปรตามของสมการถดถอยอย่างง่าย

1 การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย

2 การวิเคราะห์การถดถอยพหุ

แบบจำลองสมการถดถอย

2 แบบจำลองสมการถดถอยพหุ

1 แบบจำลองสมการถดถอยอย่างง่าย

เป็นวิธีที่ใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระซึ่งจะบอกถึงขนาดทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดังกล่าวและยังสามารถใช้ในการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามเมื่อกำหนดค่าตัวแปรอิสระให้ได้อีกด้วย

ขั้นตอนในการทดสอบสมมติฐาน

1 กำหนดสมมติฐานที่จะทดสอบ

2 กำหนดระดับนัยยะสำคัญ

3 กำหนดตัวสถิติที่จะใช้ทดสอบ

4 เกณฑ์ในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานว่าง

5 สรุปผลการทดสอบ

2 การทดสอบสมมติฐาน 2 ทาง

2 กำหนดระดับนัยสำคัญ

3 กำหนดตัวสถิติที่จะใช้ทดสอบ

1 กำหนดสมมติฐานที่จะทดสอบ

4 เกณฑ์ในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานว่าง

5 สรุปผลการทดสอบ

1 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ 2 ประชากรเมื่อตัวอย่างเป็นอิสระกัน

2 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ 2 ประชากรเมื่อตัวอย่างมีความสัมพันธ์กัน

1 การทดสอบความแตกต่างระหว่างสัดส่วน 2 ประชากร

ข้อจำกัดของการทดสอบด้วยไคสแควร์

1 ไม่ควรใช้ทดสอบเมื่อค่าความถี่ที่คาดหมายในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีค่าน้อยกว่า 1

2 ถ้ามีการแบ่งกลุ่มเพียง 2 กลุ่ม จะมีองศาความเป็นอิสระเท่ากับ 1 ไม่ควรใช้การทดสอบแบบChi square เมื่อค่าความถี่ที่คาดหมายในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีค่าน้อยกว่า 5 หากค่าความถี่ที่คาดหมายมีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไปและจำนวนตัวอย่างน้อยกว่า 50 ควรใช้ตัวสถิติในการทดสอบที่ปรับแก้ค่าความต่อเนื่องโดยนำค่า 0.5 ไปลบออกจากผลต่างระหว่างจำนวนนับที่สังเกตได้กับค่าความถี่ที่คาดหมาย

3 ถ้ามีการแบ่งกลุ่มมากกว่า 2 กลุ่มไม่ควรใช้การทดสอบไคสแควร์เมื่อมีจำนวนกลุ่มที่มีค่าความถี่ที่คาดหมายน้อยกว่า 5 มากกว่า 20%

4 ถ้ามีการแบ่งกลุ่มมากกว่า 2 กลุ่มจำนวนกลุ่มที่มีค่าความถี่ที่คาดหมายน้อยกว่า 5 มีน้อยกว่าหรือเท่ากับ 20% จะใช้การทดสอบแบบไทย square ได้โดยรวมค่าความถี่ในกลุ่มนั้นๆกับค่าความถี่ในกลุ่มที่อยู่ติดกันจนได้ค่าความถี่มากกว่าหรือเท่ากับ 5

2 สหสัมพันธ์เชิงส่วน

3 สหสัมพันธ์พหุคูณ

1สหสัมพันธ์อย่างง่าย

การวิเคราะห์การถดถอยแบ่งเป็น

1 การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย

2 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ

2 การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์