Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 8 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.1 การใช้สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.1.2 การใช้สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ประเภทของการวิจัยเชิงความสัมพันธ์
2 การวิจัยเปรียบเทียบผลเพื่อศึกษาเหตุ
3 การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์สถิติพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงความสัมพันธ์ส่วนมากจะพิจารณา 2 ประเด็นใหญ่ๆคือมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ถ้ามีความสัมพันธ์กันเป็นเชิงบวกหรือเชิงรกผู้วิจัยอาจใช้สถิติอ้างอิงในการวิเคราะห์เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์กันนี้กับการพิจารณาเปรียบเทียบหาความแตกต่างโดยผู้วิจัยอาจใช้สถิติอ้างอิงเชิงเปรียบเทียบในการวิเคราะห์หาความแตกต่างนี้อย่างไรก็ตามในการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างนี้ผู้วิจัยใช้สถิติพรรณนาในการอธิบายถึงความแตกต่างระหว่างกลุ่มก็ได้
1 การศึกษารายกรณี
8.1.3 การใช้สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงพัฒนา
รูปแบบของการวิจัยและพัฒนาทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 งานวิจัยเพื่อเตรียมรองรับปัญหาในระยะปานกลางถึงระยะยาว
3 งานวิจัยและพัฒนาซึ่งนำไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม
1 งานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
4 งานวิจัยเพื่อขยายผลการวิจัย
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา
2 ขั้นตอนการพัฒนา
2.1 การพัฒนาต้นแบบ
2.2 ทดลองหรือทดสอบผลิตภัณฑ์
1 ขั้นตอนการวิจัย
1.1 การกำหนดวัตถุประสงค์
1.2 การวางแผนหรือออกแบบ
1.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
3 ขั้นตอนการเผยแพร่และส่งเสริม
8.1.1 การใช้สถิติพรรณนาในการวิจัยเชิงสำรวจ
8.1.1 ความหมายและวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงสำรวจ
เพื่อค้นหาสาเหตุหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
2.เพื่อพรรณนาหรือบรรยาย
1.เพื่อค้นคว้าสำรวจ
ประเภทของการวิจัยเชิงสำรวจ
1 จำแนกตามวัตถุประสงค์การสำรวจ
1.2 การสำรวจเชิงอธิบาย
1.1 การสำรวจเชิงพรรณนา
2 จำแนกตามระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
2.1 การวิจัยแบบตัดขวาง
2.2 การวิจัยแบบระยะยาว
3 จำแนกตามกลุ่มที่ทำการวัดในการวิจัย
3.1 การวิจัยเชิงสำรวจจากประชากร
3.2 การวิจัยเชิงสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง
4 จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อข้อมูล
4.1 การสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม
4.2 การสำรวจโดยการสัมภาษณ์
สถิติพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสำรวจ
การเลือกใช้สถิติในการวิจัยเชิงสำรวจผู้วิจัยจำเป็นต้องทราบ
2 สถิตินั้นใช้กับข้อมูลลักษณะใด
3 ผลการวิเคราะห์จะแปรหรือตีความอย่างไรจึงจะเป็นไปตามที่ต้องการและ
1.จะใช้สถิติใดเพื่อวิเคราะห์
4 ทำไมต้องเลือกใช้สถิตินี้หรือมีสถิติอื่นที่จะทำให้การวิเคราะห์ดีกว่าหรือไม่
8.2 ประเภท ของสถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.2.1 การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่
คำนวณหาค่าร้อยละ
8.2.3 การวัดการกระจายของข้อมูล
1 พิสัย
2 ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
8.2.2 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
มัธยฐาน
ค่าเฉลี่ย
ฐานนิยม
8.3 สถิตินอน-พาราเมตริกเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.3.2 สถิตินอน-พาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม
1 การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน
1.1 ข้อมูลแบบนามมาตร
McNemar test
1.2 ข้อมูลแบบอันดับมาตร
Sign Test
Wilcoxon Signed rank test
2 การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน
2.1 ข้อมูลแบบนามมาตร
Cochran Q Test
2.2 ข้อมูลแบบอันดับมาตร
Friedman Two-way ANOVA test
Kendall Coefficient of Concordane test
8.3.3 สถิตินอน-พาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่ม
1 กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน
Cochran Q Test
Friedman
Kendall Test
2 กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน
Chi-square Kruskal-Wallis H Test
Median Test
8.3.1 สถิตินอน-พาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว
การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวด้วยสถิตินอนพาราเมตริก
2 การทดสอบไคสแควร์
3 การทดสอบ Kolmogorov-Smirnov
1 การทดสอบทวินาม