Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษต…
หน่วยที่ 7การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7.2 หลักการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7.2.2 หลักการพิจารณาในการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การใช้สถิติพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 สถิติพรรณนาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ
2 สถิติพรรณนาสำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ
การใช้สถิติอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3 การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรหลายตัว
3.2 ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ 1 ตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงปริมาณอย่างน้อย 2 ตัว สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุหรือบางครั้งเรียกว่าการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
3.3 ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ 1 ตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงปริมาณทั้งหมดหรือตัวแปรอิสระมีทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพสถิติที่ใช้คือการวิเคราะห์การจำแนกประเภท (discriminant Analysis)
3.1 ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ 1 ตัวตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพอย่างน้อย 2 ตัวสถิติที่ใช้คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง หากตัวแปรอิสระมี 3 ตัว ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน 3 ทาง
3.4 ตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหลายตัว ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพอย่างน้อย 1 ตัวสถิติที่ใช้คือ Multivariate analysis of variance หรือ MANOVA ไม่นิยมใช้เพราะยุ่งยาก
5 การเปรียบเทียบประเภทของสถิติแบบพาราเมตริกละนอนพาราเมตริก
2 การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว
2.1 ตัวแปรอิสระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
2.2 ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
2.3 ตัวแปรทั้ง 2 ตัวเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
2.4 ตัวแปรทั้ง 2 ตัวเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
4 การทดสอบที่ไม่ใช้พารามิเตอร์หรือสถิตินอนพาราเมตริก ใช้ในกรณีที่ผู้วิจัยไม่สามารถเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ได้ หรือข้อมูลที่ได้มาไม่มีการแจกแจงแบบปกติ มีการใช้ไม่มากนักเพราะข้อมูลที่ได้มาส่วนใหญ่มาจากกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่พอที่จะใช้สถิติอย่างอื่น
1 การทดสอบเกี่ยวกับตัวแปร 1 ตัว
1.1 การทดสอบค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
1.2 การทดสอบค่าสัดส่วนของตัวแปรที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
7.2.3 การทดสอบสมมติฐานทางสถิติของการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการตั้งและการทดสอบสมมติฐานทางสถิติในการวิจัย
1 สมมติฐานเพื่อการทดสอบประกอบด้วย
1.1 สมมติฐานหลัก
1.2 สมมติฐานทางเลือก
2 การทดสอบสมมติฐาน
2.1 การทดสอบสมมติฐานทางเดียว
2.2 การทดสอบสมมติฐาน 2 ทาง
ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐาน
1 ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1
2 ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
2 กำหนดระดับนัยยะสำคัญ
3 กำหนดตัวสถิติที่จะใช้ทดสอบ
1 กำหนดสมมติฐานที่จะทดสอบ
4 การหาขอบเขตในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานหรือเรียกว่าการหาค่าวิกฤต
4.1 การทดสอบสมมติฐานทางซ้าย
4.2 การทดสอบสมมติฐานทางขวา
4.3 การทดสอบสมมติฐาน 2 ทาง
5 การสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
7.2.1 ประเภทของข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ
1.1 ข้อมูลที่เป็นนามมาตร
1.2 ข้อมูลที่เป็นอันดับมาตร
2 ข้อมูลเชิงปริมาณ
2.1 ข้อมูลที่เป็นช่วงมาตร
2.2 ข้อมูลที่เป็นอัตราส่วนมาตร
7.1 เตรียมและการใช้โปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเพื่อวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
7.1.2 การจัดทำไฟล์ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
7.1.2 การกำหนดค่าตัวแปร
1 หน้าจอ
1.5 การกำหนด Variable Labels
1.6 การกำหนด Value Lables
1.4 การกำหนดค่าของ Decimals
1.3 การกำหนดค่าของ Width
1.7 การกำหนด missing values
1.2 การกำหนดค่าของ Type
1.8 การกำหนดความกว้างของข้อมูล
1.1 การกำหนดค่าของ Name
1.9 การกำหนดตำแหน่งการวางข้อมูล
1.10 การเลือกประเภทของข้อมูลแบ่งตามการวัด
2 data view
7.1.3 การใช้คำสั่งทั่วไปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
คำสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
5 transform
6 analyze
4 data
7 graphs
3 view
8 utilties
2 edit
9 window
10 hep
1 ไฟล์
การใช้คำสั่งในการเปลี่ยนแปลงข้อมูล
1 การใช้คำสั่ง recode
2 การใช้คำสั่ง compute
3 การใช้คำสั่ง select case
การใช้คำสั่งในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือการวิจัย
1 การใช้คำสั่งตรวจสอบความเชื่อถือได้ของเครื่องมือการวิจัย
2 การวิเคราะห์ปัจจัย
7.1.1 การเตรียมข้อมูลการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
การตรวจสอบข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 การบรรณาธิกรเป็นการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ให้มีความถูกต้องหรือใกล้เคียงกับสิ่งที่ควรจะเป็นมากขึ้น ข้อผิดพลาดในการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจเกิดขึ้นจาก
1.2 การตอบผิดหรือข้อมูลที่ได้คาดเคลื่อน
1.3 การตอบคำตอบที่ไม่สัมพันธ์กัน
1.1 การไม่ตอบแบบสอบถามบางข้อ
2 การแยกประเภทข้อมูล
2.1 ลักษณะของการแยกประเภทข้อมูล
2 ตามปริมาณ
3 ตามกาลเวลา
1 ตามคุณลักษณะ
2.2 หลักการในการแยกประเภทข้อมูล
3 ควรจัดข้อมูลให้อยู่ประเภทใดประเภทหนึ่งเท่านั้น
4 ตัวแปรต่างๆต้องแยกประเภทออกจากกัน
2 ข้อมูลต่างๆเหล่านั้นต้องสามารถจัดแยกประเภทต่างๆได้ครบ
5 ประเภทของตัวแปรตามต้องขึ้นอยู่กับประเภทของตัวแปรอิสระ
1 ต้องแยกประเภทให้ตรงกับปัญหาและวัตถุประสงค์ในการวิจัย
6 การแยกประเภทของข้อมูลที่เป็นเชิงปริมาณ
การจัดทำรหัสข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 หลักการกำหนดรหัสข้อมูล
1.2 ชื่อของตัวแปรที่เป็นข้อคำถาม
1.3 รหัสของคำตอบของแต่ละข้อคำถาม
1.1 ลำดับของข้อคำถาม
2 วิธีการกำหนดรหัสข้อมูล
2.2 หลักเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร
4 ภายในชื่ออาจมีจุดเครื่องหมายดอลลาร์ทรายและหรือเลข 0-9 ก็ได้แต่ห้ามลงท้ายด้วยจุด
5 ช่องว่างหรือสัญลักษณ์พิเศษจะอยู่ในชื่อตัวแปรไม่ได้
3 อักษรที่เป็นภาษาอังกฤษจะใช้เป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้
6 ชื่อต้องไม่ซ้ำกับคำเฉพาะที่ใช้ในโปรแกรม spss
2 ตัวแรกต้องเป็นอักษรภาษาอังกฤษ
7 คำต่อไปนี้เป็นคำที่กำหนดเพื่อใช้ในโปรแกรม spss เฉพาะเพื่อแทนคำหรือเครื่องหมายต่างๆจึงไม่สามารถนำมาใช้ในการเขียนชื่อตัวแปรได้ได้แก่
AND
NOT
NE
BY
ALL
OR
EQ
THRU
GE
TO
GT
WITH
LE
LT
1 ความยาวของชื่อไม่ควรเกิน 80 สดมภ์
2.3 การกำหนดรหัสสำหรับคำตอบ
2.3.2 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบอันดับมาก
2.3.3 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบช่วงมาตร
2 คำตอบที่เป็นการวัดการนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติของผู้ตอบแบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณ์
3 คำตอบที่เป็นการวัดระดับของความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณ์
1 คำตอบที่เป็นการวัดความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์หรือแบบทดสอบ
2.3.1 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบนามมาตร
2.3.4 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบอัตราส่วนมาตร
2.1 การกำหนดรหัสสำหรับชื่อตัวแปร
2.1.3 ข้อคำถามที่มีคำตอบ 2 ขั้นตอน
2.1.4 ข้อคำถามที่มีคำตอบมากกว่า 1 วัตถุประสงค์
2.1.2 ข้อคำถามที่สามารถตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
2.1.5 ข้อคำถามที่เป็นลักษณะปลายเปิด
2.1.1 ข้อคำถามที่มีคำตอบเดียว
7.3 การนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7.3.1 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติพรรณนา
1 การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
2 การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติอนุมาน
1 การนำเสนอข้อมูลการเปรียบเทียบข้อมูล
1.1 การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติ t test
1.2 การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน anova
2 การนำเสนอข้อมูลการหาความสัมพันธ์ของข้อมูล
2.2 การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์สหสัมพันธ์
2.3 การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุ
2.1 การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์
7.3.2 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิและกราฟ
การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิแท่ง
การนำเสนอในรูปแบบกราฟเส้น
การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิวงกลม