Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis…
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
อาการ
คลื่นไส้อาเจียนรุนแรงเกิดตลอดเวลาและยาวนานจนถึงอายุครรภ์ 14-16 สัปดาห์
อาการไม่รุนแรง
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้งต่อวัน
สามารถทำงานได้ตามปกติ
ลักษณะอาเจียนไม่มีน้ำหรือเศษอาหาร
น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย
แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกันมากกว่า5-10 ครั้งต่อวัน
อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 ชม.
อ่อนเพลียไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
น้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้งต่อวัน
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
นอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
อาเจียนทันทีภายหลังรับประทาน
และอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
สาเหตุ
ความไม่สมดุลของระดับของฮอร์โมน HCG* (Human chorionic gonadotropin)
และ Estrogen ที่สูงขึ้นในเดือนแรก ๆ
HCG มีปริมาณมากเกินไป ส่งผลให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก
ทางด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์
ระดับฮอร์โมน HCG เป็นสัปดาห์หลังจากประจำเดือนครั้งสุดท้าย LMP (gestational age)
3 สัปดาห์ LMP: 5 – 50 mIU/ml
4 สัปดาห์ LMP: 5 – 426 mIU/ml
5 สัปดาห์ LMP: 18 – 7,340 mIU/ml
6 สัปดาห์ LMP: 1,080 – 56,500 mIU/ml
7 – 8 สัปดาห์ LMP: 7, 650 – 229,000 mIU/ml
9 – 12 สัปดาห์ LMP: 25,700 – 288,000 mIU/ml
13 – 16 สัปดาห์ LMP: 13,300 – 254,000 mIU/ml
17 – 24 สัปดาห์ LMP: 4,060 – 165,400 mIU/ml
25 – 40 สัปดาห์ LMP: 3,640 – 117,000 mIU/ml
หญิงไม่ได้ตั้งครรภ์: <5.0 mIU/ml
หญิงวัยทอง: <9.5 mIU/ml
ปัจจัยส่งเสริม
อายุน้อย ครรภ์แรก
น้ำหนักตัวมาก
การตั้งครรภ์แฝด ซึ่งรกใหญ่กว่าปกติ
ครรภ์ไข่ปลาอุก ซึ่งรกเจริญผิดปกติแต่ไม่มีตัวเด็ก
เคยมีประวัติคลื่นไส้ อาเจียน ในขณะตั้งครรภ์ครั้งก่อน
มีประวัติเจ็บป่วยทางจิต หรือมีลักษณะอารมณ์ตึงเครียดมาก่อน
พยาธิ
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน HCG จะกระตุ้น Chemoreceptor tigger zoneที่อยู่บริเวณพื้นผิวเล็ก ๆ ของ Fourth ventricle
Chemoreceptor tigger zone จะส่งประสาทรับความรู้สึกต่อไปยังศูนย์ควบคุมการอาเจียน (vomiting center)
จากความวิตกกังวลจะกระตุ้น Cerebral cortex และ Limbic system ซึ่งอยู่ที่สมอง ส่วนหน้าและจะส่งกระแสประสาทความรู้สึกไปยังศูนย์ควบคุมการอาเจียน
ส่งผลกระทบ
มารดา
ภาวะ Dehydration
อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ ขาดน้ำ ผิวหนังแห้ง ความตึงตัวและความยืดหยุ่นไม่ดี ตาเหลืองขุ่น ลึก มองภาพไม่ชัดเจน
ภาวะ Electrolyte imbalance
กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง ชาเส้นประสาทส่วนปลาย จากการขาดวิตามินบี1
ตับถูกทำลาย ตัวเหลือง SGOT & Liver function test สูง
ไต ปัสสาวะออกน้อย ขุ่น พบ BUN คลอไรด์ กรดยูริคสูง
มีภาวะ Ketoacidosis* การสูญเสียด่างในน้ำย่อยไปกับการอาเจียน ซึ่งจะส่งผลต่อระบบประสาท
Ketoacidosis คือภาวะที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง Insulinต่ำ และมี Ketones อยู่ในกระแสเลือด
ตั้งแต่ระดับปานกลางไปจนถึงมาก
ผลต่อทารก
ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
แท้งและการคลอดก่อนกำหนด
ทารกอาจมีความพิการ
ถ้ามีการเสียสมดุลของอีเล็กโตรลัยท์ เป็นเวลานานอาจทำให้ทารกเสียชีวิตได้
การพยาบาล
ระยะอาการไม่รุนแรง
ดูแลให้รับประทานอาหาร
ครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง
ดื่มของอุ่นๆ ทันที่ที่ตื่นนอน
รับประทานอาหารโปรตีน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน
รับประทานอาหารแข็งย่อยง่าย
ระยะอาการรุนแรงปานกลาง
ดูแลให้ยาระงับประสาท หรือ
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
Dimenhydrinate, Promethazine,
Dicyclomine, Doxylamine
ป้องกันท้องผูก
ระยะอาการรุนแรงมาก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
NPO จนกว่าอาการจะดีขึ้น
วัด V/S และ Temp.ทุก 4 ชม.
ตรวจปัสสาวะหาความถ่วงจำเพาะ
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
นางสาวสุธีมา เครือเครา รหัสนักศึกษา 621001401486เลขที่ 19