Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบูรณาการบรรยายเนื้อหารวม 6 บท - Coggle Diagram
สรุปบูรณาการบรรยายเนื้อหารวม 6 บท
บทที่ 3 ความหลากหลายทางชาติพันธุ์
ชาติพันธุ์ (อ่านว่า ชาด-ติ-พัน) หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ในดินแดนที่ปัจจุบันเป็นประเทศใดประเทศหนึ่ง เป็นกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมร่วมกัน มีขนบธรรมเนียมประเพณีและภาษาพูดเดียวกัน
การเข้ามาของอารยธรรมภายนอกสู่ดินแดนอษุาคเนย์
เมื่อราว 2500-3000 ปีมาแล้วความสมบูณร์ของดินแดนทำให้คนหลายกลุ่มอพยพเข้ามาในดินแดน
อารยธรรม
อารยธรรมมอญ
พบหลักฐานวัฒนธรรมร่วมทางพุทธศาสนาที่เรียกว่า “วัฒนธรรมทวารวดี” ซึ่งรุ่งเรืองช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-16 ในชุมชนลุ่มน้ำภาคกลางของไทนปัจจุบัน
ผู้คนในอาณาจักรทวารวดี
ชาวอินเดีย ชาวจีน
พบว่าเป็นรูปแบบผู้ปกครองในอุดมคติของบ้านเมืองในกลุ่มวัฒนธรรมทวารวดี“ธรรมราชา”
อารยธรรมเขมร/ขอม
กล่าวถึงพระองค์ว่าทรงนาลัทธิ“เทวราชา” มาใช้ในการปกครอง
บทที่ 1 ศาสนาและความเชื่อในอุษาคเนย์
ศาสนาและความเชื่อ ในอุษาคเนย์
ศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดคือ ศาสนาอสิลามในอนิโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน
ความเชื่อดั้งเดิม ในอุษาคเนย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ความเชื่อเรื่องผีฟ้าพญาแถน และผีบรรพชน
ความเชื่อเรื่อง “นัต ” ของเมียนมา
ความเชื่อ ชวาเกอยาเวน : ศาสนาชวา
ความเชื่อเรื่อง “ขวัญ ”
ความเชื่อทางพุทธศาสนาในสังคมไทย
ไตรภูมิพระร่วง : วรรณกรรมเอกทางพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
จักรวาลคติในไตรภูมิพระร่วง
พุทธศาสนานิกายเถรวาทลังกาวงศ
การเผยแพร่ศาสนาอิสลามสู่ภูมิภาคอุษาคเนย์
บทที่ 6 วิถีชีวิตกับวัฒนธรรมที่สำคัญบนความหลากหลายของศาสนาและชาติพันธุ์ต่างๆในชุมชนสาทร
ชาติพันธุ์ในสาทร
ชนชาติมอญ
กำรอพยพของคนชำติมอญครั้งใหญ่ในสมัยกรุงศรีอยุธยำ เกิดขึ้นมีปีพ.ศ.2127วัดคอกควำยหรือวัดยำนนำวำในปัจจุบันเป็นศูนย์รวมของชนชำติมอญตั้งแต่สมัยพระนเรศวร เจ้ำอำวำสทุกองค์ในอดีตก็เป็นชนชำติมอญทั้งสิ้น หลังสงครำมโลกครั้งที่สองจึงได้เปลี่ยนแปลงเป็นคนไทยทั่วไป
ชนชาติจีน
ชำวจีนได้เดินทำงเข้ำมำยังลุ่มแม่น ้ำเจ้ำพระยำและอ่ำวไทย ก่อนที่ชนชำติไทยจะตั้งรัฐไทยขึ้นที่สุขโขทัยแล้ว ภูมิหลังควำมสัมพันธ์ไทยจีนมีมำนำนกว่ำ 1000ปีแล้วเมื่อคนจีนเข้ำมำอยู่ในเขตสำทรกันมำกๆ ปัญหำเกิดตำมมำคือ ที่ฝังศพ ประเพณีจีนไม่นิยมเผำศพต้องกำรมีสุสำนฝังศพสุสานแต้จวิ๋ ซัวจงึ เกิดขึ้นจำกกำรรวบรวมเงินบริจำคของคนแต้จิ๋วในกรุงเทพมหหำนคร
ชนชาติอินโดนีเซีย
แนวคิดรวมตัวเป็นประเทศอินโดนีเชียเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2471ประกำศเป็นประเทศอินโดนีเชียเมื่อได้รับเอกรำชในปี พ.ศ.2488กำรต่อสู้ดินรนก็เกิดตำมมำเป็นเวลำกว่ำ300 ปีปัจจุบันชำวอินโดนีเซียกลุ่มใหญ่มำตั้งบ้ำนเรือนอยู่ในเขตสำทร เป็นที่มำของมัสยิดยะวำ
ชนชาติยะไข่หรือชาวทะวาย
ชาวทะวายเป็นชนเผ่ำหนึ่งในประเทศพม่ำ
ชาวอินเดียในเขตสาทร
ผู้อพยพชำวอินเดียที่นับถือศำสนำฮินดูที่เข้ำมำในประเทศไทยแบ่งออกได้เป็นห้ำกลุ่มหลักชำวฮินดูที่ตั้งถิ่นฐำนอยู่ในเขตสำทรและรวมศูนย์อยู่ที่รอบๆวัดวิษณุ ซอยวัดปรก แขวงทุ่งวัดดอน เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร ส่วนใหญ่เป็นฮินดูที่อพยพมำจำกอุตตรประเทศ ในปี พ.ศ.2458
ศาสนาและสถานที่สำคัญที่เกี่ยวข้องในสาทร
ศาสนาพุทธ
วัดสุทธิวราราม
วัดบรมสถลหรือวัดดอน
วัดปรกมอญแขวงทุ่งวัดดอน
วัดยานนาวา
ศาสนาคริสต์(คาทอลิก)
โบสต์เซนต์หลุยส์
ศาสนาอิสลามในสาทร
มัสยิด ยะวา
ศาสนาพราหม-ฮินด
วัดวิษณุ
บทที่ 4 ประเพณีและพิธีกรรม
ประเพณีและพิธีกรรมในสังคมไทย
พราหมณ์
พุทธศาสนา
ความเชื่อดั้งเดิม
ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์
ประเพณีกําฟ้าของชาวไทยพวน จังหวัดสระบุร
ประเพณีบุญเบิกฟ้า ของชาวมหาสารคาม
ประเพณีและพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อเรื่องการนับถือผีบรรพชน
งานบุญข้าวประดับดิน
งานสารท เดือนสิบ
งานประเพณีแซนโฎนตา จังหวัดสุรินทร์
ประเพณีการตักบาตรดอกไม้บูชาอินทชิล เมืองเชียงใหม่
ความเชื่อเรื่องขวัญ
คนอุษาคเนย์มีขวัญ ไม่มีวิญญาณ (เพราะวิญญาณเป็นคติจากอินเดีย)
ข้าวเหนียว อาหารหลักของชุมชนในอุษาคเนย์
ความเชื่อเรื่องขวัญข้าว
พิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับข้าว
พิธีเชิญขวัญข้าวหรือขวัญแม่โพสพสู่ลานบ้าน
ประเพณีบุญคูณลาน สู่ขวัญข้าวเข้าบ้านใหม่
ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
วันวิสาขบูชา
วันอาสาฬหบูชา
วันมาฆบูชา
วันเข้าพรรษา
ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ ณ พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี่
วันออกพรรษา
ประเพณีโยนบัว ของอําเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการ
ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง และ ประเพณีไหลเรือไฟ
งานบุญเทศนมหาชาต
บทที่ 5 ศิลปกรรมในดินแดนไทยฯ ดนตรี การละเล่นพื้นบ้าน ระบำรำฟ้อน
ความแตกต่างระหว่าง อุโบสถ / วิหาร / ศาลาการเปรียญ
โบสถ์ ถูกเรียกตามฐานะของวัด
อุโบสถ หรือ โบสถ์คือ อาคารสําคัญของวัดทางพุทธศาสนา
วิหาร คืออาคารประดิษฐานพระพุทธรูป
ศาลาการเปรียญอาคารสําหรับภิกษุสามเณรใช ้ศึกษาทางปริยัติธรรม
ดนตรีไทย
ดนตรีอุษาคเนย์ (ยุคสุวรรณภูมิเมื่อราว 5000 ปี)
เครื่องดนตรีโลหะ เมื่อราว 3,000 ปี
การละเล่นพื้นบ้านไทย
พิธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับอํานาจกษัตริย์
การแข่งเรือเสี่ยงทายในพระราชพิธีแข่งเรือ
การชักนาคดึกดําบรรพ์ ในพระราชพิธีอินทราภิเษก
พิธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับคติความเชื่อเรื่องความอุดมสมบูรณ์
ผีตาโขน
เซิ้งบั้งไฟ
แห่นางแมว
การทรงแม่ศรี ทรงนางด้ง ทรงนางบอก ทรงผีลอบ
การแห่นางด ้ง - นางควาย
พิธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับวิถีชุมชนและการอยู่ร่วมกันในสังคม
การบายศรีสู่ขวัญ ในงานรับขวัญ
การเต้นกํารําเคียว ระหว่างการเก็บเกี่ยว
การรําฝีฟ้า (รําผีแถน) เพื่อรักษาคนเจ็บป่วย
การก่อเจดีย์ทราย ในวันขึ้นปีใหม
การเล่นเพลงเรือ สักวา ในวันงานทอดกฐิน
พิธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาเด็ก
การละเล่นมอญซ่อนผ้า
ม้าก้านกล้วย
การเล่นหมากเก็บ
การเล่นอีตัก
การเล่นโพงพาง
การละเล่นหุ่นไทย - ประเภทของการเชิดหุ่น
หนังตะลุง
หนังใหญ
ประเภทของโขน
โขนโรงนอก
โขนหน้าจอ
โขนกลางแปลง
โขนโรงใน
โขนฉาก
บทที่ 2 การตั้งถิ่นฐานในอุษาคเนย์
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย
ชว่งเวลาที่ดินแดนไทยยังไม่มีการประดิษฐ์ลายลักษณ์อักษรขึ้น
ใช้บันทึกเรื่องราว คือ มีเพียงภาษาพูด หรือยังไม่มีเอกสารชาวต่างชาติบันทึกหรือกล่าวถึงเรื่องราวของดินแดนไทย
การศึกษาเรื่องราวสมียก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย
ยุคไพลสโตซนี (Pleistocene)
Homo erectus - มนุษย์ยุคหินเก่า (Old Stone Age) 600,000-10,000 ปี
Homo sapiens - มนุษย์ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 8,000-3,000 ปี
ยุคโลหะในดินแดนไทย
แหล่งโบราณคดีสำคัญสมัยยุคหินใหม่ที่พบในดินแดนไทย
แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า ตำบลจระเข้เผือก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
แหล่ง โบราณคดีบ้านเชียง
ช่วงต้น (5000-4000 ปี) บ้านเชียงช่วงต้นเป็นยุคเครื่องมือหิน
ช่วงกลาง (4000-2500 ปี) บ้านเชียงช่วงกลาง เป็นยุคเครื่องมือสำริด
ช่วงปลาย (2500-1800 ปี) บ้านเชียงช่วงปลาย เป็นยุคเครื่องมือเหล็ก
200101008 ชัญญานุช กุนานวล