Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ (1), วิภาดา…
หน่วยที่ 3 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ (1)
โรคหัวใจ
การรับไว้ในโรงพยาบาล
Class III
รับไว้ในโรงพยาบาลตลอดการตั้งครรภ์
Class IV
รับไว้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ จนกระทั่งคลอดหรือแท้ง
Class II
รับไว้ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 wks
การดูแล
Class I,II
ระวังหัวใจล้มเหลว
ระวังการติดเชื้อ
ในระยะที่ 2 ของการคลอด
ให้นอนท่า fowler position
ช่วยคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดึงสุญญากาศ
ให้ยา Antibiotic เพื่อป้องกัน endocarditis
กรณีที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ ให้เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาได้
ให้ออกซิเจน
ให้ Digitalis ที่ออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาขับปัสสาวะ
คำแนะนำ
หากต้องการบุตร แนะนำให้นอนพักในโรงพยาบาลตลอดการตั้งครรภ์
ให้คลอดทางช่องคลอด
หากไม่ต้องการบุตรแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์
กรณีผ่าตัดทางหน้าท้อง ต้องมีข้อบ่งชี้ทางสูติกรรมเท่านั้น
อาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
แนะนำให้นอนพักผ่อน
ทำงานบ้านได้น้อยลง ทำงานเบาๆ
น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ไม่ควรเกิน 24 ปอนด์
ร้อยละ 80-85 เป็นโรคหัวใจรูห์มาติด
ร้อยละ 90 เป็นชนิด mitral stenosis (MS)
ผลกระทบ
การตั้งครรภ์ทำให้การดำเนินโรคแย่ลง ระดับความรุนแรงมากขึ้น
โรคลิ้นหัวใจมีโอกาสเกิด bacterial endocarditis ขณะคลอด
การแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทำให้มีหรือการตายปริกำเนิดสูงขึ้น
ทารกโตช้าในครรภ์
ทารกจะมีภาวะหัวใจพิการโดยกำเนิดสูงกว่าปกติ
โรคเบาหวาน
เบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยมาก่อนการตั้งครรภ์
Class B เริ่มเป็นอายุมากกว่า 20
เป็นนานตํ่ากว่า 10 ปี
Class C เริ่มเป็นอายุ 10-19ปี เป็นนาน 10-19 ปี
Ovet DM FBS ผิดปกติ 2 ครั้ง
เบาหวานที่วินิจฉัยครั้งแรกขณะตั้งครรภ์
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
การควบคุมโรคเบาหวานยากขึ้น
ภาวะ diabetic ketoacidosis
retinoparhy
Diabetic nephropathy
ผลกระทบ
มารดา
ติดเชื้อง่าย
ภาวะความดันโลหิตสูง
Hyperglycamia
การคลอดยากและอันตรายต่อช่องทางคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
ทารก
พิการแต่กำเนิด เกิดความพิการของหัวใจ ไตและสมอง
เกิด RDS สูง
ทารกตัวใหญ่กว่าปกติ
การตาบของทารกในครรภ์
การแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
การตรวจคัดกรอง
50 gms Glucose challenge test
การดูแล
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตรวจติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์
NST สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
BPP ถ้า NST nonreactive
Fetal movement ทุกวัน
ยุติการตั้งครรภ์ในเวลาที่เหมาะสม
ดื่มน้ำในช่วงระหว่างมื้อมากกว่าในมื้ออาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ชา กาแฟ
แนะนำการออกกำลังกายโดยเคลื่อนไหวร่างกายส่วนบนมากกว่า
เปลี่ยนยากินเป็นยาฉีด เนื่องจากยากินสามารถผ่านรกได้
การตรวจดูระดับ HbA1C
ควบคุมน้ำตาบให้ดีตลอดการตั้งครรภ์
การแบ่ง class
GDMA1
FBS ปกติ
GOTT ผิดปกติตั้งอต่ 2 ค่าขึ้นไป
GDMA2
มีค่าก่อนกินน้ำตาล FBS ≥ 105 mg% ขึ้นไป
หลังดื่ม Glucose ระดับน้ำตาลในเลือดผิดปกติตั้งแต่ 2 ใน 3 ค่าขึ้นไป
การคลอด
DM classA1
คลอดเมื่อครบกำหนด
DM class อื่นๆ
คลอดเมื่อ 38 wks บริบูรณ์
แนะนำให้คลอดทางช่องคลอดปกติ
ในรายที่มีภาวะแทรกซ้อน Preeclampsia ชนิดรุนแรง ต้องให้คลอดก่อนกำหนด
ผ่าตัดทำคลอดทางหน้าท้อง ในกรณีทารกตัวโตมาก
การให้นมบุตร
ถ้าให้ยาฉีด insulin สามารถให้นมบุตรได้
ถ้ายาเม็ด ไม่ควรให้นมบุตร
การคุมกำเนิด
แนะนำให้ใช้ Barrier methods ถุงยางอนามัย
ไม่แนะนำให้ใช้ IUD เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
หลีกเลี่ยงยาเม็ดคุมกำเนิดชนิที่มี estrogen ปริมาณสูง
ถ้ามีบุตรพอแล้ว แนะนำทำหมัน
โรคเลือด/โลหิตจาง
ความสำคัญ
มีอุบัติการณ์การเกิดสูง
ทำให้ทารกตาย
ต้องได้รับการให้เลือด
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
เกิดจากฮีโมโกบินของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ
ผู้เป็นโรค
ได้รับยีนธาลัสซีเมียเดียวกันมาจากพ่อแม่ จะแสดงอาการซีด อ่อนแรง ตาเหลือง
ผู้เป็นพาหะ
มียีนของธาลัสซีเมียเพียงข้างเดียว จะมีสุขภาพดีเหมือนคนปกติ
การตรวจคัดกรอง
OF
จะแตกตัวน้อยกว่าปกติ
DCIP
ถ้าเป็น HdE จะตกตะกอนมาก
MCV
Hb
ชนิดของโรค
เบต้าธาลัสซีเมีย
ผู้ที่เป็นพาหะฮีโมโกบินอี พบบ่อย เป็นโรคธาลัสซีเมียไม่รุนแรง ซีดเล็กน้อย
เป็นความผิดปกติจากการสร้าง B-globin chain ลดลงหรือไม่ได้สร้าง
ทารกเป็นโรคเบต้าธาลัสซีเมีย
อายุสั้น
สามารถมีชีวิตอยู่ได้หลังคลอด แต่จะมีอาการซีดรุนแรง
ทำให้ซีดมาก
ใบหน้า ร่างกายเปลี่ยนแปลง
ตับม้ามโต
มีภาวะเหล็กสะสมในร่างกายมาก ทำให้ผิวคล้ำ
ภูมิต้านทานต่ำ ติดเชื้อง่าย
ทางเลือก
ตั้งครรภ์ต่อไป
ส่วนใหญ่ ยุติการตั้งครรภ์
อัลฟ่าธาลัสซีเมีย
คำแนะนำ
ให้การปรึกษาทางเลือกในการยุติการตั้งครรภ์
เกิดจากความผิดปกติของจากการสร้าง α-globin chain น้อยหรือไม่มีการสร้างเลย
ผลกระทย
มารดา
alb ในปัสสาวะ
มีภาวะครรภ์เป็นพิษ
ความดันโลหิตสูง
บวม
ตกเลือดหลังคลอด
ทารก
ทารกจะบวมน้ำ หัวใจโต
ตับม้ามโต
รกมีขนาดใหญ่
ทารกซีดมาก ตายในครรภ์
ตายหลังคลอดได้ไม่นาน
อาหาร
แนะนำอาหารที่มีธาตุเหล็ก
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มี Folic สูง
ยา
แนะนำยาที่มีธาตุเหล็ก วันละ 200 mg หลังอาหาร
แนะนำยาที่มี Folic acid 5 mg วันละ 1 เม็ดหลังอาหาร
วิภาดา ชื่นใจ เลขที่ 37