Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาและความถนัดทางคณิตศาสตร์ - Coggle Diagram
แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาและความถนัดทางคณิตศาสตร์
เชาวน์ปัญญา
ความหมาย เป็นความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะคิด เรียนรู้ กระทำ หรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
ทั้งกับสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา นีโอเพียร์เจต์-
อินฟอร์เมชั่นโพรเซสซิ่ง
เชาวน์ปัญญาเอ็กซ์พีเรียลเชียล
เชาวน์ปัญญาคอนเทคชวล
เชาวน์ปัญญาคอมโพเนนเชียล
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา ประสาทวิทยา-จิตวิทยา
ความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการพูดและการเขียน
ความสามารถทางดนตรีและเสียงสัมผัสจังหวะ
การใช้เหตุผลและความสามารถทางคณิตศาสตร์
ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์
ความสามารถที่จะใช้ความรู้เกี่ยวกับการ
เคลื่อนไหวของร่างกายและควบคุมได้
ความสามารถที่จะมีความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลอื่น
ความสามารถที่จะเข้าใจตนเอง
ความสามารถที่จะเป็นนักธรรมชาติวิทยา
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญาจิตมิติ
ทฤษฎีหลายองค์ประกอบ
ทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของกิลฟอร์ด
ทฤษฎีสององค์ประกอบ
ทฤษฎีองค์ประกอบทั่วไปของแคทเทลล์
ทฤษฎีองค์ประกอบเดียว
การจำแนกระดับเชาว์ปัญญา
ปานกลาง (average) : IQ 90 - 109
ค่อนข้างโง่ (low average or dull) : IQ 80 - 89
ค่อนข้างฉลาด (high average) : IQ 110 - 119
คาบเส้น (borderline) : IQ 70 - 79
ฉลาดมาก (superior) : IQ 120 - 129
ปัญญาอ่อน (mentally retarded) : IQ ต่ำกว่า 60
อัจฉริยะ (very superior) : IQ 130 ขึ้นไป
ประเภทของแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา
จำแนกตามลักษณะของการตอบ
แบบทดสอบชนิดเขียนตอบลงในกระดาษ
แบบทดสอบชนิดตอบปากเปล่า
แบบทดสอบชนิดตอบโดยการปฏิบัติ
จำแนกตามลักษณะของข้อสอบ
แบบทดสอบเป็นกลุ่ม
แบบทดสอบเป็นรายบุคคล
ความถนัด
ความหมาย สมรรถภาพ/ศักยภาพ/ความสามารถที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ ที่ได้มาจากการฝึกฝนความรู้และประสบการณ์ที่สะสมมาเป็นระยะ
เวลาที่ยาวนาน
แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
แบบทดสอบประเภททักษะ
แบบทดสอบประเภทความคิดรวบยอด
แบบทดสอบประเภทโจทย์ปัญหา
แบบทดสอบประเภทเรียงลำดับ
ประเภทความถนัด
ความถนัดจ าเพาะ หรือความถนัดพิเศษ
ความถนัดทางการเรียน(Scholatic Aptitude)