Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
BURN - Coggle Diagram
BURN
3.ภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นในผู้ป่วยรายนี้
Hyperkalemia
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่ (Localized effect)
การเปลี่ยนแปลงทั่วร่างกาย (Systematic effect)
ผลกระทบต่อระบบหายใจ
Inhalation injury
อาจเกิดจาก Direct themal injury สูดเอาความร้อนหรือไอร้อนเข้าไปโดยตรง ทำให้เกิดการทำลายเยื่อบุทาเดินหายใจส่วนบน เกิด Edema หรือมีการSpasm ของหลอดลมทำให้
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
หัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต
โดยเฉพาะในแผลไหม้ที่มีขนาด15-20% TBSA ขึ้นไป
ผนังหลอดเลือดมีpermeabilityเพิ่มขึ้น ทำให้มีการซึมผ่านของสารน้ำและโปรตีนจากหลอดเลือดไปสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์
การรั่วซึมของสารน้ำจะเกิดขึ้นเร็วโดยเฉพาะใน24ชั่วโมงแรกและสูญเสียค่อนข้างมาก
ในช่วง6-12ชั่วโมงแรก ปริมาณการไหลเวียนลดลงส่งผลให้เกิด
hypovolemic shock
ระบบเลือด
ภาวะเลือดข้น(hemoconcentration) เกิดจากสารน้ำในหลอดเลือดลดลง Hematocrit สูงขึ้น
ระบบภูมิคุ้มกัน
ผิวหนังถูกทำลายทำให้ defense mechanism สูญเสียไปและเกิดความบกพร่องในระบบภูมิคุ้มกัน ผู้ป่วยจึงติดเชื้อได้ง่าย
ผลกระทบต่อกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
เกิดภาวะแทรกซ้อน ข้อติด จากการหดรั้ง ตามข้อพับต่างๆ เพราะมีพังผืดเหนียว ทำให้ผิดรูปร่างไปจากเดิม
และ เกิด
Eschar
นำไปสู่
Circumferrentail burn
อิเล็คโทรลัยท์และกรดด่าง
โปแตสเซียมในเลือดสูง (hyperkalemia) จากเนื้อเยื่อและเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย
ในกรณีศึกษา - K=5.5mmol/l ค่าปกติ 3.5-5.0mmol/l แสดงถึง
Hyperkalemia
โซเดียมในเลือดต่ำ (hyponatremia)จาการที่โซเดียมเคลื่อนที่เข้าแทนที่ภายในเซลล์เพื่อแลกเปลี่ยนกับโปแตสเซียม
ในกรณีศึกษา - NA =135mmol/l (ค่าปกติ136-145mmol/l) แสดงถึง
Hyponatremia
อาจเกิดจากการเสียน้ำ
•เกิดการทำลายของเนื้อเยื่อบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
• เกิดการบวมเฉพาะที่ภายหลังได้รับบาดเจ็บ 6-8ชั่วโมง
•สูญเสียหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย เนื่องจากต่อมเหงื่อถูกทำลาย
• ผิวหนังจะสูญเสียหน้าที่ในการควบคุมการระเหยของสารน้ำและเกลือแร่
Hypovolemic shock
Hyponatremia
Circumferrentail burn
4.ให้กําหนดปัญหาทางการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาลของผู้ป่วยรายนี้
ระยะวิกฤต (Acute phase)
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารเนื่องจากเผาผลาญในร่างกายสูง
กิจกรรมการพยาบาล
.ให้ผู้ป่วยได้รับอาหาร High protein diet เป็น Burn diet ไข้มื้อละฟ้อง อาหารที่มีแคลอรี่และโปรตีนสูง ผสมยาและวิตามินเพิ่มและทดแทนให้สลับระหว่างมื้อครั้งละ200 มล.วันละ 6ครั้ง
.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความสำคัญของอาหารต่อผลการรักษา
แนะนำให้ญาติให้กำลังใจผู้ป่วยขณะรับประทานอาหาร ให้ญาติมีส่วนร่วมในการจัดเตรียมอาหาร
สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียนท้องอืด
ร่างกายอยู่ในภาวะติดเชื้อเนื่องจากผิวหนังถูกทำลายร้อยละ22.5 TBSA
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินบาดแผล สังเกตการเปลี่ยนแปลงเพื่อประเมินภาวะการติดเชื้อ
ทำแผลด้วยเทคนิคป้องกันการติดเชื้ออย่างเคร่งครัด
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ส่งเสริมการหายของบาดแผล
ป้องกันการลุกลามของการติดเชื้อ ลดการติดเชื้อที่มีอยู่
ระยะฟื้นฟู (Rehabilitative phase)
ผู้ป่วยสูญเสียความมั่นใจในตนเองเนื่องจากรูปลักษณ์ที่เปลี่ยนไป
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำญาติติดต่อจิตแพทย์เพื่อเข้ามาช่วยบำบัดรักษาสภาพจิตใจที่ประสบอัคคีภัย
ทำความเข้าใจกับผู้ป่วยเองในการยอมรับตนเองกับสิ่งที่เป็นอยู่ เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้าและคิดฆ่าตัวตายจากการสูญเสียภาพลักษณ์
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการหดรั้งของเนื้อเยื่อ
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเรื่องการเกิดการหดรั้งของเนื้อเยื่อและการดึงรั้งของข้อพร้อมเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติซักถามปัญหาและข้อข้องใจต่างๆ
โดยเริ่มตั้งแต่วันแรกที่รับผู้ป่วยไว้รักษาในหน่วยไฟไหม้
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงความจำเป็นที่ต้องออกกำลังกายข้อต่างๆของร่างกาย ขณะเดียวกันแนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังข้อต่างๆด้วยตนเองและพยาบาลช่วยทำให้ขณะอาบน้ำ
แนะนำและจัดท่าที่ถูกต้อง โดยถือหลักให้ท่านั้นอยู่ในท่าที่เคลื่อนไหวและใช้งานได้โดยจัดท่าทางที่เหมาะสม พิจารณาร่วมกับแผลไหม้บริเวณต่างๆ
ระยะฉุกเฉิน(Resuscitative)
มีโอกาสเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะของการหายใจ
เตรียมเวชภัณฑ์เพื่อทำ escharotomy
เตรียมเวชภัณฑ์เพื่อใส่ท่อทางเดินหายใจ
จัดท่านอน Fowler’s Position ไม่หนุนหมอนเพื่อให้หายใจสะดวกขึ้นและให้ Absolute Bed Rest
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ปลอดโปร่ง เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสขาดออกซิเจนเนื่องจากทางเดินหายใจอุดตัน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะHypoperfusion ภาวะการขาดออกซิเจนทุก 1|2-1ชั่วโมง
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนที่เพียงพอ
ให้ออกซิเจน MASK ผ่านความชื้น 40%
เพื่อลดความระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ
ตรวจดูทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะให้เมื่อจำเป็น
ประเมินสภาพผู้ป่วยโดยสังเกตลักษณะการหายใจและเสียงเสมหะ
จัดท่านอนศีรษะสูง 70องศา
ไม่หนุนหมอน เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
มีโอกาสเกิดภาวะHypovolemicshockเนื่องจากเสียสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลท์
ดุแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทดแทนตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมิน Vital sign และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
ยกส่วนปลายแขน ให้สูงเพื่อลดอาการบวม
1.การประเมินความกว้างหรือขนาดของแผลไหม้โดยใช้ Rule of nine
ใช้กฏเลขเก้า (Rule of nine)
จากกรณีศึกษา มีแผลไหม้บริเวณใบหน้า ลำคอ แขนทั้ง 2 ข้าง
ใบหน้าและลำคอ = 4.5%
แขนทั้ง2ข้าง = 4.5
2
2 = 18%
รวมผู้ป่วยมีความกว้างของแผลไหม้ ประมาณ 22.5%
ใช้โดยการแบ่งส่วนต่างๆของร่างกายออกเป็นส่วนๆ ส่วนละ9% ของพื้นที่ผิวกาย
2.การประเมินระดับความลึกของแผลไหม้
Depth of burn
จากกรณีศึกษา
>บริเวณใบหน้าและลำคอเป็นสีขาว ลักษณะแผลไหม้ ซีด มีตุ่มพองเล็กน้อย รู้สึกปวดแสบปวดร้อน
ซึ่งตรงกับ Second degree buen - Deep partial thickness
> บริเวณแขนทั้ง 2 ข้าง ลักษณะแผลไหม้ ขาวซีดเหลือง ดำ หนาแข็ง ไม่มีอาการเจ็บปวด
ซึ่งตรงกับ Tird degree burn
แบ่งเป็น3ระดับ
1)Firrst degree burn
ทำลายเฉพาะหนังกำพร้า ผิวหนังบริเวณนั้นจะมีสีชมพูหรือสีแดง มีความนุ่ม ไม่มีตุ่มพอง ปวดแสบ แผลหายได้เองภายใน3-5วัน
2)Second degree burn
-2.1)Superficial partial thickness
ทำลายชั้นหนังกำพร้าทั้งหมดและบางส่วนของหนังแท้ Skin appendage คือ ผิวมีสีแดง ตุ่มน้ำพองใส(Bleb) ปวดแสบมาก แผลหาย7-14วัน มีแผลเป็น
-2.2)Deep partail thickness
ทำลายชั้นหนังกำพร้าทั้งหมดและส่วนมากของหนังแท้
Skin appendage คือ ผิวมีสีขาวซีด ตุ่มพองน้อยหรือแฟบ
ความรู้สึกเจ็บปวดลดลง แผลหาย14-28วัน มีแผลเป็นมาก
3)Tird degree burn
ผิวหนังทุกชั้นถูกทำลาย รวมถึงSkin appendageอาจกินลึกถึงกล้ามเนื้อหรือกระดูก แผลไหม้มีลักษณะขาว ซีด เหลือง ดำ หนาแข็ง แห้งกร้าน ไม่มีอาการเจ็บปวด
ความหมาย
Burn คือการที่ผิวหนังและเนื้อเยื่อถูกทำลายจากความร้อน,ความเย็นหรือสารเคมีโดยอาจะเกิดตั้งแต่หนังกำพร้า หนังแท้ จนถึงกล้ามเนื้อและกระดูก