Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
ทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎี Ethology
เช่ือเรื่องอิทธิพลของธรรมชาติที่มี เหนือกระบวนการปรับตัว การเรียนรู้ เน้นแนวคิดในการศึกษา พฤติกรรม ในสภากรณีธรรมชาติ บทบาทของ พันธุกรรม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
เป็นทฤษฎีของ ซิกมันด์ ฟรอยด์ เชื่อว่ามนุษย์ มีสัญชาตญาณติดตัวมา แต่กําเนิด
พฤติกรรมของบุคคล เป็นผลมาจากแรงจูงใจท่ีกระตุ้น ให้บุคคลมีพฤติกรรม
ทฤษฎีพัฒนาตามขั้นตอน
ทฤษฎีพัฒนาการตามขั้นตอน ประจําตัวของ "ฮาวิคเฮิสท์" ได้ชื่อว่า งานท่ีมนุษย์ทุกคนจะต้องทําตามวัยว่า งานพัฒนาการ
งานท่ีทุกคนจะต้องทํา ในแต่ละวัยของชีวิตสัมฤทธ์ิผลของงาน พัฒนาการของแต่ละวัย
เพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิดหรือสติปัญญาของ เพียเจต์ เชื่อว่าเด็กไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความรู้และความคิด แต่เด็กเรียนรู้โลกภายนอก รอบตัวและพัฒนาสติปัญญาและความคิด คือ การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแต่เกิด
มีแนวคิดว่า พัฒนาการเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วไม่คงที่และมีวิวัฒนาการ
ทฤษฎีมนุษย์นิยม
เชื่อว่าผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียน จัดการเรียนการสอน จึงมุ่งให้เกิดการเรียนรู้ด้านความเข้าใจ ทักษะและเจตคติไปพร้อม โดยให้ความสำคัญกับความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม
ทฤษฎีลำดับชั้นความต้องการ
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ความต้องการทางด้านร่างกาย
ความต้องการทางด้านความปลอดภัย
ความต้องการทางสังคม
ความต้องการมีเกียรติในสังคม
ความต้องการความสมหวังในชีวิต
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ ไวก๊อตสกี้ เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดขึ้น จากการท่ีเด็กมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและ วัฒนธรรม
เปลี่ยนสิ่งเร้าท่ีเรียนรู้จาก สังคมเป็นส่ิงเช่ือมโยงส่ิงเร้าภายนอก
ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน
จําแนกพัฒนาการทางบุคลิกภาพของมนุษย์ 8 ขั้นตอน ดังนี้
สร้างความรู้สึกไว้วางใจ
ความเป็นตัวของตัวเองแย้งกับความละอายใจ
สร้างความคิดริเริ่มแย้งกับความสํานึกผิด
สร้างความรู้สึกรับผิดชอบแย้งกับปมด้อย
พบอัตลักษณ์แห่งตนแย้งกับความไม่เข้าใจตัวเอง
ความสนิทเสน่หา ความร่วมใจ
ความเสียสละ หรือเห็นแก่ตัว
สร้างความมั่นคงของชีวิตหรือความส้ินหวัง 60 ปีขึ้นไป
ทฤษฎีวุฒิภาวะของกีเซลล์
ได้สร้างเกณฑ์มาตรฐานสําหรับวัดพฤติกรรมของเด็ก เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยใช้การสังเกต 4 กลุ่ม ได้แก่
พฤติกรรมด้านการเคลื่อนไหว
พฤติกรรมด้านการเคลื่อนไหวและรับรู้
พฤติกรรมด้านการสื่อสาร
พฤติกรรมด้านนิสัยส่วนตัวและสังคม