Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - Coggle Diagram
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ความจำเป็นของการพัฒนาหลักสูตร
ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งความรู้และความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการ
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทยและการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
ส่งเสริมการสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม
สื่อการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตัวเองกับสังคม
จัดการการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
กำหนดคุณภาพมาตรฐานของผู้จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และทักษะในการดำเนินชีวิต
ดูแลตนเองให้มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี
มีความรู้อันเป็นสากลที่ทำการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
มีประสิทธิภาพในการผลิตและบริโภค
ความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน รักการเรียน
และรักการค้นคว้า
เข้าใจในประวัติศาสตร์ของชาติไทย เป็นพลเมืองดียึดมั่นในวิถีและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเอง
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
แผนประสบการณ์หรือแผนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดจากการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากรทั้งภายในและภายนอกของโรงเรียนเพื่อกำหนดการเรียนรู้ของนักเรียน มีการวางแผนนำไปใช้และประเมินผลร่วมกัน
แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ปัญหาด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน
ความวิตกกังวลของสถานศึกษาและครู
ว่าจะไม่สามารถดำเนินการได้ครบตามระเบียบและกฎเกณฑ์
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูที่ยังยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
กรอบหลักสูตรและการประเมินผล
สกัดกั้นการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตร
ระบบรวมศูนย์ในเรื่องการจัดสรร ทรัพยากร
ปัญหาจากการใช้หลักสูตรเดียวกันทั่วประเทศ
เนื้อหาวิชามีความยาก ไม่สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น
ครูไม่เข้าใจวิธีการจัดการเรียนการสอน
ครูไม่เข้าใจหลักการ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การจัดส่งเอกสารประกอบหลักสูตรไปยังโรงเรียนมีความล่าช้า
ผู้บริหารโรงเรียนบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตร
ปัญหาการรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางทำให้เกิดปัญหา
ขาดความเป็นอิสระในการคิด
การบริหารและการตัดสินใจของหน่วยงานระดับล่างไม่อาจทำได้
ไม่สอดคล้องกับความจำเป็น
ก่อให้เกิดความล่าช้าในการอนุมัติ อนุญาต
ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและทรัพยากร
ปัญหาในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
ขาดความรู้
ขาดการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
ขาดวิทยากร
ครูไม่ปรับหลักสูตรสอนตามหลักสูตรแกนกลาง
ขาดความร่วมมือและการสนับสนุน
ไม่ปรับปรุงสื่อ เอกสาร
การขาดบุคลากร
ครูไม่มีความรู้และขาดทักษะในการดำเนินการ
แนวทางการปฎิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
การมีส่วนร่วมและการร่วมคิดร่วมทำ
( Participation and Collaboration )
การกระจายอำนาจ ( Decentralization )
ยึดโรงเรียนเป็รศูนย์กลางในการตัดสินใจ
( School-Based Decision Making )
ภารกิจที่ตรวจสอบได้ ( Accountability )
เงื่อนไขสำคัญที่ทำให้การจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษาประสบความสำเร็จ
บุคลากรในโรงเรียนมีความยินดีในการมีส่วนร่วมตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา
บุคลากรมีความสามารถเพียงพอในการรับผิดชอบงาน
ต้องมีการมอบอำนาจจากส่วนกลางไปยังโรงเรียนในระดับท้องถิ่น
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นที่ 2 การร่างหลักสูตร
การกำหนดเนื้อหาสาระ
การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อต่าง ๆ
กำหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร
การกำหนดวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร
ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งอาจเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ
การรับฟังความคิดเห็นของผู้มี่ส่วนเกี่ยวข้อง
คณะทำงานร่างหลักสูตร เป็นกลุ่มบุคคลที่พัฒนาหลักสูตรขึ้นมา
ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ
การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพชุมชนและความต้องการของชุมชน
ขั้นที่ 4 การนำหลักสูตรไปใช้
การเรียนรู้โดยผสมผสานความรู้
การฝึกการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาประชาธิปไตย
การเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนากระบวนการคิด
การเรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรม
การเรียนรู้เรื่องของตนเอง ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาทักษะการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ
การวิจัยเพื่อพัฒนาการกระบวนการเรียนรู้
การเรียนรู้โดยสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้ด้วยความร่วมมือของครอบครัวและชุมชน
การประเมินผู้เรียน