Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - Coggle Diagram
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
สาระเนื้อหา (Content) :explode:
2.ความหมายของการพัฒนาหลูกสูตรสถานศึกษา :<3:
แฮร์ริสัน (Marsh and other)
2.เป็นสิ่งที่นำไปปฏิบัติได้จริงและมีผลเกิดขึ้นกับบุคคลที่เกี่ยวข้องจริง
3.เป็นประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ
1.เป็นแผนงานที่สามารถปรับเปลี่ยนได้
เอ็กเกิลสตัน (Eggleston)
เป็นการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับสภาพและความต้ิงการของนักเรียนในแต่ละโรงเรียน โดยมีการวางแผนนำไปใช้ และประเมินร่วมกัน
สกิลเบ็ก (Skilbeck)
การวางแผน การออกแบบ การนำไปใช้และการประเมินผล การกำหนดการเรียนรู้ของนักเรียนดำเนินการโดยสถานศึกษาเน้นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคคลภายในสถานศึกษา ไม่ใช่กำหนดจากบุคคลภายนอก
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
พันธกิจหรือภาระหน้าที่ที่สถานศึกษาและชุมชนร่วมกันในการพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมกับยุคสมัย
3.แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา :<3:
2.ปัญหาด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน
ความวิตกกังวลของสถานศึกษาและผู้สอน
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูที่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
กรอบหลักสูตรและการประเมินผล
ระบบรวมศูนย์ในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน
3.ปัญหาจากการใช้หลักสูตรเดียวกันทั่วประเทศก่อให้เกิดผลตอผู้ปฏิบัติตามหลักสูตร
เนื้อหาวิชามีความยาก
ครูไม่เข้าใจวิธีการจัดการเรียนการสอน
ครูไม่เข้าใจหลักสูตร
การจัดส่งเอกสารประกอบหลักสูตรไปยังโรงเรียนมีความล่าช้า
ผู้บริหารโรงเรียนบางส่วนขาดความรู้
1.ปัญหาการรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางทำให้เกิดปัญหา ดังนี้
ขาดความเป็นอิสระในการคิด
การบริหารและการตัดสินใจของหน่วยงานระดับล่างไม่อาจทำได้
ก่อให้เกิความล่าช้าในการอนุมัติ อนุญาติ
ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและทรัพยากร
4.ปัญหาในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
ขาดความรู้
ขาดการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
ขาดวิทยากร
ครูไม่ปรับหลักสูตรสอนตามหลักสูตรแกนกลาง
ขาดความร่วมมือและสนับสนุน
ไม่ปรับปรุงสื่อ เอกสาร
การขาดบุคลากร
ครูไม่มีความรู้และขาดทักษะในการดำเนินการ
1.ความจำเป็นของการพัฒนาหลักสูตร :<3:
3.ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้๓ุมิปัญญา
4.ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา
2.ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5.ส่งเสริมการสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียน
1.ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ชุมชน ครอบครัว ชาติและสังคมโลก
6.จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
4.ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 5 ขั้นตอน :<3:
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบคุฯภาพหลักสูตร
ขั้นที่ 4 การนำหลักสูตรไปใช้
ขั้นที่ 2 การร่างหลักสูตร
การกำหนดเนื้อหาสาระ
การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อต่าง ๆ
การกำหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร
การกำหนดวิธีวัดและประเมินผู้เรียน
ขั้นที่ 5 การประเมินหลักสูตร
ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ
การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
ข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพและความต้องการของชุมชน
มโนทัศน์ (Concept)
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่กำหนดขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตรครบวงจร คือ เริ่มตั้งแตการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน การร่างหลักสูตร การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งการประเมินผลหลักสูตรโดยหวังว่าขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่สมบูรณ์ที่จะทำให้ได้หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีขั้ตอนในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนที่สำคัญ ดังนี้
3.การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร
4.การนำหลักสูตรไปใช้
2.การร่างหลักสูตร
5.การประเมินผลหลักสูตร
1.การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome)
1.มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา
2.สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง
สรุป (Summary)
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 กำหนดให้ "คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนการศึกษาต่อและในวรรคสองกำหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่ง ในส่วนเกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงคืเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ"
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา อาศัยแนวคิดภายใต้พื้นฐานของการบริหารงานที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management-SBM) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระและมีความสอดคล้องในตัวในการบริหารงานด้านวิชาการ ด้านการเงิน ด้านการบริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไปเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจของบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดมีส่วนเกี่ยวข้องกับนักเรียนมากที่สุด แนวทางที่จะทำให้คุฯภาพการศึกษาดีขึ้นใช้กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้นมีการนำวิธีการบริหารงบประมาณด้วยตัวเอง (Self-Budgetting School) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (School-Based Curriculum Development) และการพัฒนาบุคลากรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน(School-Based Student Counseling) เข้ามาใช้
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสภานศึกษาที่นำมาใช้ดำเนินการในครั้งนี้นำแนวความคิดและรูปแบบจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในมาตรา 27 วรรคสองที่กำหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ