Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตัวแปร ประชากร และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
ตัวแปร ประชากร และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวแปรในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทและที่มาของตัวแปร
ประเภทของตัวแปร
จำแนกตามการให้ความหมายเชิงนโยบาย
1.1 ตัวแปรมาตรฐาน
1.2 ตัวแปรเชิงนโยบาย
จำแนกตามคุณสมบัติของค่าตัวแปร
2.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ
2.2 ตัวแปรเชิงคุณภาพ
จำแนกตามความต่อเนื่องของค่าตัวแปร
3.1 ตัวแปรต่อเนื่อง
3.2 ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
จำแนกตามความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล
4.1 ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (independent variables)
4.2 ตัวแปรตาม (dependent variables)
4.3 ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน (extraneous variables)
4.4 ตัวแปรแทรก (intervening variables)
4.5 ตัวแปรกด (suppressor variable)
ตัวแปรมาก่อน
ที่มาของตัวแปร
ศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อกับเรื่องที่ศึกษา
ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
รวบรวมจากข้อเท็จจริงเชิงประจักษ
การนิยามและการวัดตัวแปร
การนิยามตัวแปร
กำหนดตัวแปรของการวิจัย
นิยามตัวแปร
2.1 นิยามในรูปแนวคิด
2.2 นิยามเชิงปฏิบัติการ
การวัดตัวแปร
เป็นการแปรสภาพข้อความคิดหรือแนวคิดซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมให้เป็นข้อมูลทางสถิติ อาจเป็นเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ
เป็นการจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่วิเคราะห์หรือเข้าใจได้
ระดับการวัดตัวแปร แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับนามมาตร ระดับอันดับมาตร ระดับช่วงมาตร และระดับอัตราส่วนมาตร
ความหมาย และความสำคัญของตัวแปร
ความหมาย : คุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต เป็นสิ่งที่เปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป อาจจะอยู่ในรูปปริมาณ (quantitative) และในรูปคุณภาพ (qualitative)
ความสำคัญ
เป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
เป็นองค์ประกอบสำคัญ และถูกนำมาแสดงความเชื่อมโยงกันในกรอบแนวคิดการวิจัย
นำมากำหนดเป็นสมมติฐานการวิจัย
ช่วยให้สามารถวัดและทดสอบได้
ระดับการวัดตัวแปรมีความสำคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวแปรที่ชัดเจนนำไปสู่คำตอบของข้อความรู้หรือปัญหาที่ชัดเจนได้
ประชากร และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาด
1.ไม่ทราบจำนวนประชากร กำหนดขนาดโดยใช้สูตรคำนวณ
ทราบจำนวนประชากร
2.1 กำหนดขนาดโดยใช้เกณฑ์
2.2 กำหนดขนาดโดยใช้สูตรคำนวณ
2.3 กำหนดขนาดโดยใช้ตารางสำเร็จ
ข้อควรพิจารณา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความคลาดเคลื่อนระหว่างค่าที่แท้จริงกับค่าสถิติที่ใช้เป็นตัวประมาณค่าที่ผู้วิจัยยอมรับได้
ความแปรปรวนของประชากร
ขนาดของประชากร
จำนวนของตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ธรรมชาติของการทำวิจัย
จำนวนของบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นประชากรในการศึกษา
อัตราการตอบที่ต้องการได้รับคืน
ข้อจำกัดด้านทรัพยากรอื่นๆ
ขั้นตอนและวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง
ศึกษาวัตถุประสงค์ของการวิจัย
นิยามประชากร
กำหนดหน่วยตัวอย่าง
กำหนดขนาดของตัวอย่าง
เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ทำการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น
1.1 การสุ่มตัวอย่างแบบงา่ย
1.1.1 การสุ่มโดยการจับฉลาก
1.1.2 การสุ่มโดยใข้ตารางเลขสุ่ม
1.2 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
1.3 การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
1.4 การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
1.5 การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น
2.1 การสุ่มตัวอย่างแบบพบโดยบังเอิญ
2.2 การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงหรือตามวัตถุประสงค์
2.3 การสุ่มตัวอย่างแบบกำหนดโควตา
แนวคิดเกี่ยวกับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง
ได้ตัวแทนของประชากรที่ศึกษาเพื่อมาตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูล
สร้างความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
นำไปใช้กับการตอบปัญหาการวิจัยได้ทันเวลา
การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างมีรายละเอียดของข้อมูลมาก
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรและต้องไม่มีอคติ และสามารถนำไปอ้างอิงขยายผลได้
มีลักษณะตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ต้องมีลักษณะที่มีความสำคัญของประชากรที่จะศึกษา
มีขนาดพอเหมาะ
ได้จากการสุ่มโดยวิธีการที่เหมาะสม
ความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่งที่ต้องการศึกษาทั้งหมด อาจจะเป็น คน สัตว์ พืช วัตถุ หรือปรากฎการณ์ต่างๆ ขึ้นกับวัตถุประสงค์การวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง เป็นส่วนหนึ่งของประชากร ซึ่งผู้วิจัยนำมาใช้เป็นตัวแทนของประชากรในการศึกษา โดยนำข้อความจริงที่ค้นพบจากกลุ่มตัวอย่างนี้ไปอ้างอิงเป็นข้อความจริงของประชากร