Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 63 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 63 ปี
CC : คลื่นไส้ อาเจียน วันละ 4-5 ครั้ง 3 วัน
ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล คลื่นไส้อาเจียนวันละ 4-5 ครั้ง ออกเป็นน้ำทุกวัน ทานอาหารได้น้อยลงอาการไม่ดีขึ้น
จึงมาโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรคแรกรับ
Diabetic ketoacidosis (DKA) น้ำตาลในเลือดสูง
ภาวะคีโตนคั่งในเลือดและภาวะเลือดเป็นกรด
การวินิจฉัยโรคในปัจจุบัน
Diabetic ketoacidosis (DKA) น้ำตาลในเลือดสูง
ภาวะคีโตนคั่งในเลือดและภาวะเลือดเป็นกรด
พยาธิสภาพ
เบาหวานประเภทที่ 2 เกิดจากการที่ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อการใช้หรือเกิดภาวะดื้ออินซูลิน
อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ตับอ่อนสร้างขึ้นและมีหน้าที่นำน้ำตาลในเลือดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายเพื่อสร้างเป็นพลังงาน
แต่สำหรับผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้เป็นพลังงานได้เนื่องจากขาดฮอร์โมนอินซูลินมีผลทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
เมื่อร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้ได้ก็จะเกิดความเครียดร่างกายจึงหลั่งฮอร์โมน catecholamine , glucagon , cortisol และ growth hormone มากขึ้น
ฮอร์โมนเหล่านี้จะไปสลายไขมันและโปรตีนในกล้ามเนื้อให้เอามาเป็นกลูโคส กรดไขมันอิสระ และกรดอะมิโนให้เพิ่มขึ้นในกระแสเลือด
1 more item...
เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นทำให้ท่อไตไม่สามารถดูดกลับน้ำได้หมด จึงมีน้ำตาลเหลือออกมากับปัสสาวะ ทำให้มีภาวะ Osmotic diuresis ร่างกายมีการสูญเสียน้ำและอิเล็กโทรไลต์ต่างๆออกไปกับปัสสาวะมากขึ้น
ร่างกายจึงเกิดภาวะขาดน้ำ ผู้ป่วยจึงมีอาการกระหายน้ำและดื่มน้ำมากขึ้น
2 more items...
U/D : DM diabetes mellitus โรคเบาหวาน เป็นมาแล้ว 4 ปี รักษาที่โรงพยาบาลบ้านนาเดิม รับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3
ผู้ป่วยขาดความตระหนักในการดูแลตนเองในขณะเจ็บป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
S : ญาติผู้ป่วยเล่าว่า " ก่อนเข้าโรงพยาบาล
ผู้ป่วยได้ไปสังสรรค์กับเพื่อน "
O : ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน
กิจกรรมการพยาบาล
1 ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเรื่องการเฝ้าระวังอาการที่ควรมาโรงพยาบาลทันทีอย่างใกล้ชิดเมื่อมีอาการปากแห้ง กระหายน้ำ
ปัสสาวะบ่อย ร่วมกับอาการคลื่นไส้ อาเจียน หอบเหนื่อย
หากเป็นมากขึ้นจะมีอาการสับสนอาจเกิดภาวะช็อกและหมดสติได้
2 ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติให้ดูแลเรื่องอาหารการกิน แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสชาติหวาน เช่น ขนมหวานและปรุงอาหารที่มีน้ำตาลเยอะจนเกินไป แนะนำให้กินอาหารอ่อน ย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก น้ำข้าวหรือขนมปัง และให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากขึ้นอย่างน้อย 1 แก้ว ทุกๆ 1 ชั่วโมง
เพื่อป้องกันอาการเจ็บป่วยเฉียบพลันที่เกิดจากภาวะ DKA
3 ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยว่าห้ามหยุดฉีดยาอินซูลินเองและกินยาตามที่แพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอกินยาเองมาทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
และอาจเกิดภาวะ DKA ซ้ำได้
การประเมินผล
1 ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ดีขณะเจ็บป่วย ไม่มีอาการและอาการแสดงของโรค DKA และไม่มาโรงพยาบาลซ้ำด้วย โรค DKA
2 ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลตนเอง และสามารถเฝ้าระวังอาการของโรค DKA ได้